วารสารทหารพัฒนา https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal วารสารทหารพัฒนา th-TH <p>บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย</p> <p>ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย และบุคลากรท่านอื่นๆในกองบัญชาการฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว</p> editor.mdjournal@gmail.com (พันโทหญิง ดร. ณิชาพัฒน์ เพิ่มทองอินทร์) editor.mdjournal@gmail.com (พันโทหญิง ดร. ณิชาพัฒน์ เพิ่มทองอินทร์) Sat, 31 Dec 2022 18:40:01 +0700 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 ลักษณะการทำงานของบุคลากรในสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางการเป็นองค์กรแห่งความเป็นเลิศ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/262435 <p> การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการทำงานของบุคลากรในสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางการเป็นองค์กรแห่งความเป็นเลิศและเพื่อศึกษาวิธีการพัฒนาบุคลากรในสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวทางการเป็นองค์กรแห่งความเป็นเลิศ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ รวบรวมข้อมูลจากประชากรจำนวน 20 คน โดยใช้แบบสอบถาม และทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า<br /> 1. ลักษณะการทำงานของบุคลากรที่บ่งบอกถึงการเป็นองค์กรแห่งความเป็นเลิศของสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้ง 7 ด้าน พบว่า ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.99 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านที่ 4 การเปิดกว้างและความพร้อมในการทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 รองลงมาคือด้านที่ 7 การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านที่ 5 การมีมุมมองเชิงระบบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.81 <br /> 2. วิธีการพัฒนาบุคลากรในสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือสู่การเป็นองค์กรแห่งความเป็นเลิศ ในด้านการพัฒนาบุคลากรพบว่าเห็นด้วยอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.63 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ข้อ 2 องค์กรมีแนวทางการจัดการความก้าวหน้าในอาชีพได้อย่างเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.80 ทั้งนี้พบว่า ข้อ 4 องค์กรมีการฝึกอบรมในการเพิ่มทักษะที่ดีในการปฏิบัติงานอยู่เสมอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากันคือ 3.80 รองลงมา คือ ข้อ 1 องค์กรมีระบบประเมินผลการพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75 และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ข้อ 8 องค์กรของท่านมุ่งเน้นการให้รางวัล การยกย่องชมเชย เพื่อสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองให้กับบุคลากร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.20</p> Wanarat Chumpa Copyright (c) 2022 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/262435 Sat, 31 Dec 2022 00:00:00 +0700 การพัฒนาและส่งเสริมสมรรถนะของบุคลากรสำนักงานเทศบาลตำบลเมืองเก่าเพื่อรองรับระบบราชการ 4.0 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/262465 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของบุคลากรสำนักงานเทศบาลตำบลเมืองเก่าเพื่อรองรับระบบราชการ 4.0 และศึกษาแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมสมรรถนะของบุคลากรสำนักงานเทศบาลตำบลเมืองเก่าเพื่อรองรับระบบราชการ 4.0 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 130 คน ด้วยแบบสอบถาม ได้รับคืนจำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 92.31 วิเคราะห์ผลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า</p> <ol> <li class="show">ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 41-50 ปี พนักงานเทศบาล จบการศึกษาระดับปริญญาตรี และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 6-10 ปี</li> <li class="show">สมรรถนะของบุคลากรสำนักงานเทศบาลตำบลเมืองเก่าตามคุณลักษณะของระบบราชการ 4.0 ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ 1) เปิดกว้าง และเชื่อมโยงกัน 2) ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 3) มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย พบว่า ภาพรวมมีสมรรถนะตามคุณลักษณะของระบบราชการ 4.0 อยู่ในระดับมากที่สุดเท่ากับ 4.43 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.52 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีระดับสมรรถนะของบุคลากรอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.54 รองลงมา คือ เปิดกว้าง และเชื่อมโยงกัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.55 และน้อยที่สุด คือ มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.46</li> <li class="show">สมรรถนะของบุคลากรสำนักงานเทศบาลตำบลเมืองเก่า ประกอบด้วย 5 ด้าน คือ 1) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2) บริการที่ดี 3) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 4) การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม 5) การทำงานเป็นทีม พบว่า ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยของสมรรถนะของบุคลากรอยู่ในระดับมากที่สุดเท่ากับ 4.52 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.51 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม มีระดับสมรรถนะของบุคลากรอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.67 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.48 รองลงมา คือ การทำงานเป็นทีม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 และน้อยที่สุด คือ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.39 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.57</li> <li class="show">แนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมสมรรถนะของบุคลากร คือ การฝึกอบรมตามสายงาน เพื่อเพิ่มพูน ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่ดี คุณธรรมและจริยธรรม เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ</li> </ol> <p>&nbsp;</p> <p>คำสำคัญ: การพัฒนา, สมรรถนะ, ระบบราชการ 4.0</p> วานิสา วรวุธ Copyright (c) 2022 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/262465 Sat, 31 Dec 2022 00:00:00 +0700 ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 4 ขอนแก่น https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/262410 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 4 ขอนแก่นและเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 4 ขอนแก่น เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราวที่มาปฏิบัติหน้าที่ ณ อาคารสำนักงานสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 4 ขอนแก่น ใช้วิธีการคัดเลือกแบบแบบเจาะจงจำนวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพปัญหาในการปฏิบัติงาน พบว่า ด้านบุคลากรมีไม่เพียงพอมากที่สุด จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 50.0 รองลงมาด้านการวางแผนในการปฏิบัติงานจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 45.2 และน้อยที่สุดด้านอื่น ๆ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.8 2) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต 4 ขอนแก่นโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย= 4.02 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน= 0.75) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านคุณภาพของงานมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ มาก (ค่าเฉลี่ย= 4.15 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน= 0.69) รองลงมา ด้านค่าใช้จ่าย มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ มาก (ค่าเฉลี่ย= 4.01 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน= 0.80) และน้อยที่สุดด้านปริมาณงาน มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ มาก&nbsp; (ค่าเฉลี่ย= 3.96 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน= 0.72)</p> รัตน์ติยากร สียอด Copyright (c) 2022 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/262410 Sat, 31 Dec 2022 00:00:00 +0700 หมอดิน ดูให้รู้ รักษาให้เป็น https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/263003 Subin Jongwannasiri Copyright (c) 2022 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/263003 Sat, 31 Dec 2022 00:00:00 +0700 การเดินสายไฟแบบลอย https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/264350 กองบรรณาธิการ วารสารทหารพัฒนา Copyright (c) 2022 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/264350 Sat, 31 Dec 2022 00:00:00 +0700 เมื่อไม่ใช่แค่บุตรที่ต้องมีเมื่อพร้อม https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/263005 khaokwan Chittasenee Copyright (c) 2022 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AFDCJournal/article/view/263005 Sat, 31 Dec 2022 00:00:00 +0700