การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกศึกษาในหลักสูตรโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย - อังกฤษ) ของนักเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร

Authors

  • ปิยะณัฐ จริงจิตร 0878888771
  • จุไรรัตน์ สุดรุ่ง

Keywords:

FACTORS ANALYSIS, SELECTION, ENGLISH PROGRAM (THAI-ENGLISH)

Abstract

         การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกศึกษาต่อในหลักสูตรโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของนักเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัยในครั้งนี้ คือ แบบสอบถามจำนวน 1 ฉบับ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนและผู้ปกครองที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 297 คู่ โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS

         ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกศึกษาต่อในหลักสูตรโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) ของนักเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า ปัจจัยด้านรายได้ต่อเดือนของผู้ปกครองที่มากกว่า 15,000 บาท และปัจจัยด้านการประสัมพันธ์หลักสูตร (PR) มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีความน่าจะเป็นที่ส่งผลให้เลือกที่จะศึกษาต่อในหลักสูตรโครงการสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร

References

ภาษาไทย

จำลอง สุริวงค์. (2559). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกโรงเรียนเอกชนของผู้ปกครอง
นักเรียนในจังหวัดพิจิตร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครสวรรค์, นครสวรรค์.
จินตนา โนนวงศ์. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกแผนการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21. วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 9(พิเศษ), 77-92.

ธันยากร ช่วยทุกข์เพื่อน. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรียนในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. สุทธิปริทัศน์, 29(90), 256-271.

ประดิษฐ์ สมวงษา. (2552). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจในการศึกษาต่อสายสามัญหรือสายอาชีพ
ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดขอนแก่น (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้
ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

ปรัศนีย์ อุ้มเครือ. (2554). ประสบการณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ไม่มั่นใจในการตัดสินใจเลือก
แผนการเรียน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
กรุงเทพมหานคร.

ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช. (2559). หลักการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์. ลำปาง: คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

พนม คลี่ฉายา. (2561). หลัก เทคนิค และวิธีการประเมินผลการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: คณะนิเทศ
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยอดขวัญ ผดุงมิตร. (2559). ปัจจัยการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในโครงการโรงเรียน
สองภาษาในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัย
ธุรกิจบัณฑิตย์, กรุงเทพมหานคร.

รุจิร์ ภู่สาระ. (2551). การพัฒนาหลักสูตร: ตามแนวปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บุ๊ค พอยท์.

วันเพ็ญ ศรีหลิ่ง. (2559). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการศึกษาต่อของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในกลุ่ม
มหาวิทยาลัยราชภัฏใหม่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. การวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยสารคาม,
ฉบับพิเศษ(22), 283-293.

สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา. (2548). แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนในโครงการจัดการเรียน
การสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำนักยุทธศาสตร์การศึกษา. (2562). แผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๒ สำนักการศึกษา.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท วันไฟน์เดย์ จำกัด.

สุริชา เชื้อวงค์. (2552). ปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการตัดสินใจเรียนต่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกลุ่ม
สหวิทยาเขตหนองใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 (ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต
ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

หน่วยศึกษานิเทศก์. (2561). ข้อมูลโครงการโรงเรียนสองภาษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักการศึกษา.

ภาษาอังกฤษ

Alsauidi, F. (2016). Reasons influencing selection decision making of parental choice of school.
Journal of Research in Education and Science (IJRES), 2(1), 201-211.

Graddol, D. (2006). English next. Plymounth: Latimer Trend.

Jafari, P., & Aliesmaili, A. (2013). Factors influencing the selection of a university by high school
students. Journal of Basic and Applied Scientific Research, 3(1), 696-703.

Krejcie, R. V., & Morgan, E. W. (1970). Educational and psychological measurement. New York:
Mc Graw-Hill.

Lin, A. M. Y., & Martin, P. W. E. (2005). Deconlonisation, globalisation: Language-in-education
policy and practice. Clevedon: Multilingual Matters.

Njoki, M. M. (2017). School related factors influencing parental choice of primary schools in
Embakasi sub-country, Nairobi city county, Kenya (Doctoral Dissertation). Retrieved
from https://erepository.uonbi.ac.ke/bitstream/handle/11295/101484/Muchiri_School
%20Related%20Factors%20Influencing%20Parental%20Choice%20of%20Primary%20S
chools%20in%20Embakasi%20Sub-county%2C%20Nairobi%20City%20County%2C%
20Kenya.pdf?sequence=1&isAllowed=y

Yaacob, N. A., Osman, M. M., & Bachok, S. (2014). Factors influencing parents’ decision in
choosing private schools. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 153, 242-253.

Hsu, Y., & Yuan-fang, C. (2013). An analysis of factors affecting parents’ choice of a junior high
school. International Journal of Business, Humanities and Technology, 3(2), 39-49.

Downloads

Published

2019-12-26

How to Cite

จริงจิตร ป., & สุดรุ่ง จ. (2019). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกศึกษาในหลักสูตรโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย - อังกฤษ) ของนักเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. An Online Journal of Education, 14(2), OJED1402042 (10 pages). Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/196059