@article{แทนกอง_สุดรุ่ง_2017, title={การศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินงานของกระบวนการนิเทศการสอน ของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ สีลม A STUDY OF THE STATE AND PROBLEMS OF INSTRUCTIONAL SUPERVISION PROCESS OPERATION OF ASSUMPTION CONVENT SILOM SCHOOL}, volume={11}, url={https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/84737}, abstractNote={<p style="text-align: justify;">การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาสภาพการดำเนินงานของกระบวนการนิเทศการสอนของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ สีลม ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 2.เพื่อศึกษาปัญหาการดำเนินงานของกระบวนการนิเทศการสอนของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ สีลม ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ประชากรที่ตอบแบบสอบถามได้แก่ ครูผู้สอน จำนวน 65 คน เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ แบบมาตรประมาณค่า การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p><p>           ผลการวิจัยพบว่า สภาพการดำเนินงานของกระบวนการนิเทศการสอนของโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ สีลมโดยภาพรวมมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก โดยการสังเกตการสอนจะมีระดับการปฏิบัติมากที่สุด รองลงมาเป็นการประชุมวางแผนและการประชุมให้ข้อมูลย้อนกลับ สำหรับปัญหาการดำเนินงานของกระบวนการนิเทศการสอน พบว่าในภาพรวมปัญหาอยู่ในระดับน้อย</p><p style="text-align: justify;">This research had 2 main objectives: 1) To study the state of the instructional supervision process operation of Assumption Convent Silom School, and 2) to study the problems of the instructional supervision process operation of Assumption Convent Silom School. The population used in this study included 65 teachers of Assumption Convent Silom School. This research used a questionnaire, checklist, and rating scale. The analysis of the data used the software package. The statistical data was analyzed using frequency percentage, mean, and standard deviation. <br /> The results of research found that the state of the instructional supervision process operation of Assumption Convent Silom School had the practice level at a high level. The observation have the highest practicing level, the second placed was the planning conference and the feedback conference. The problems of the instructional supervision process operation were at a low level.</p>}, number={4}, journal={An Online Journal of Education}, author={แทนกอง นงนุช and สุดรุ่ง จุไรรัตน์}, year={2017}, month={Apr.}, pages={329–339} }