TY - JOUR AU - นรังศิยา, ธารทิพย์ AU - แกมเกตุ, วรรณี PY - 2017/04/21 Y2 - 2024/03/28 TI - การวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุของความสำเร็จของการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยงครู AN ANALYSIS CAUSAL MODEL OF THE SUCCESS OF COACHING AND MENTORING TEACHERS JF - An Online Journal of Education JA - OJED VL - 11 IS - 2 SE - Research Articles DO - UR - https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/84133 SP - 235 - 250 AB - <p>การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสาเหตุ (causal research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยงของครูที่ได้รับการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง และ 2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความสำเร็จ<br /> ของการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง ตัวอย่างวิจัย คือ ครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่ได้รับ<br /> การชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง จำนวน 137 คน ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ค่าความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.96 ถึง 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน และการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง โดยใช้โปรแกรมลิสเรล (LISREL 8.72)</p><p>            ผลการวิจัยพบว่า 1) ในภาพรวมของความสำเร็จของการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยงพบว่า ครูมีการเปลี่ยนแปลง<br /> เพิ่มสูงขึ้นและเปลี่ยนแปลงในทิศทางบวกทุกด้าน (Mean = 0.86) ครูมีระดับการเปลี่ยนแปลงในด้านการทำงานร่วมกัน<br /> สูงมากที่สุด รองลงมา คือ การเปลี่ยนแปลงด้านการปฏิบัติการสอน และการเปลี่ยนแปลงด้านความมุ่งมั่นในการพัฒนา<br /> การจัดการเรียนการสอน (Mean = 0.91, 0.85, 0.83 ตามลำดับ) 2) โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความสำเร็จของ<br /> การชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง โดยมีตัวแปรพฤติกรรมในการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยงที่ส่งผลต่อตัวแปรความสำเร็จของ<br /> การชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยงที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (chi-square = 31.43, df = 27, <br /> p<em> </em>= 0.25, GFI = 0.96, AGFI = 0.91, RMR = 0.00, RMSEA = 0.04) โดยตัวแปรพฤติกรรมในการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยงมีอิทธิพลทางตรงต่อความสำเร็จของการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง (DE = 0.49) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 <br /> ทั้งนี้ตัวแปรพฤติกรรมในการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยงสามารถอธิบายความแปรปรวนของความสำเร็จของการชี้แนะและ<br /> การเป็นพี่เลี้ยงได้ร้อยละ 24.00 </p><div><p>The purposes of this causal research were to 1) analyze the success of the coaching and mentoring level and 2) analyze a causal relationship of the success of coaching and mentoring. <br /> The research sample, selected through multi-stage random sampling, consisted of 137 teachers under the Office of the Basic Education Commission (OBEC). Data were collected using a questionnaire survey. The reliability of the instruments ranged between 0.96 - 0.97. Data were analyzed by descriptive statistics and SEM (Structural Equation Model) by LISREL 8.72 analysis. <strong></strong></p></div><p>The findings were as follows: 1) The overall success of coaching and mentoring was found to relate to the teacher’s change increase on positive direction all terms (Mean = 0.86). Teachers that have level of change were in terms of change of collaborative work at highest level, change of teaching performance and change of commitment to instructional development respectively (Mean = 0.91, 0.85, 0.83 respectively). 2) The causal model of success of coaching and mentoring consisted of the behavior of the coaching and mentoring being influenced by the success of coaching and mentoring; this fit the empirical data (Chi-square = 31.43, df = 27, p = 0.25, GFI = 0.96, AGFI = 0.91, RMR = 0.00, RMSEA = 0.04). The behavior of coaching and mentoring directly influenced the success of coaching and mentoring (b = 0.49) and the results were significant at p &lt; 0.05. The behavior of coaching and mentoring explained 24.00 % of variance of success of coaching and mentoring.</p> ER -