https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/issue/feedASIA PARIDARSANA2022-12-28T14:10:56+07:00Jirayudh Sinthuphanias@chula.ac.thOpen Journal Systems<p><strong><em>เอเชียปริทัศน์ </em></strong>เป็นวารสารวิชาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ของสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับเอเชียศึกษา เพื่อเปิดพื้นที่สำหรับการอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างนักวิชาการ และเพื่อเป็นช่องทางในการเผยแพร่ผลงานวิชาการสู่สาธารณะเพื่อประโยชน์แก่สังคมในวงกว้าง</p> <p><strong><em>เอเชียปริทัศน์ </em></strong>เผยแพร่ใน 2 รูปแบบ <strong>รูปแบบที่ 1 การตีพิมพ์</strong> เริ่มเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2522 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ตุลาคม – ธันวาคม 2522) ออกเผยแพร่ราย 3 เดือน และในปี พ.ศ. 2545 – ปีปัจจุบันออกเผยแพร่ราย 6 เดือน (มกราคม - มิถุนายน, กรกฎาคม - ธันวาคม) และอาจมีฉบับพิเศษปีละไม่เกิน 1 ฉบับ <strong>รูปแบบที่ 2 ระบบออนไลน์</strong> เผยแพร่บทความในระบบ ThaiJo2.0 (www.tci.thaijo.org) เริ่มในปี พ.ศ. 2560 ฉบับปีที่ 38 โดยตีพิมพ์บทความที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเอเชียศึกษาในมิติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ชาติพันธุ์ ภาษาและวรรณกรรม และมิติอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง</p> <p><strong><em>เอเชียปริทัศน์ </em></strong>ยินดีพิจารณาบทความวิจัย (research article) บทความทางวิชาการที่ไม่ใช่งานวิจัย (non-research academic article) บทความปริทัศน์ (review article) และบทปริทัศน์หนังสือ (book review) ที่อยู่ในขอบเขตเนื้อหาข้างต้น สามารถส่งบทความเพื่อรับการพิจารณาตีพิมพ์ได้ตลอดทั้งปี บทความที่ได้รับการพิจารณาจะได้รับการประเมินแบบไม่เปิดเผยตัวตนสองทาง (double-blind review) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ท่าน </p> <p>บทความต่างๆ ที่ตีพิมพ์ใน <strong><em>เอเชียปริทัศน์ </em></strong> เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้เขียนบทความเท่านั้น ผู้พิมพ์และกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องมีความคิดเห็นที่สอดคล้องกับความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความแต่อย่างใด</p> <p><strong>ลิขสิทธิ์วารสารและบทความเป็นของสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</strong></p>https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/264251Introduction2022-12-27T13:12:14+07:00Jirayudh SinthuphanJirayudh.S@chula.ac.th<p>ในยุคนี้ คำว่า อำนาจอ่อน หรือ อำนาจละมุน ที่แปลเป็นภาษาไทยมาจากความคิดเรื่องว่า Soft Power – ซอฟต์พาวเวอร์ ของโยเซฟ ไนย์ นั้นกำลังถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงกันในแวดวงวิชาการนานาสาขาวิชาและเลยออกไปในหมู่ผู้ผลิตอุตสาหกรรมวัฒนธรรมไทยกันอย่างกว้างขวาง ดูราวกับว่าอำนาจหรือความสามารถในการดึงดูดและสร้างความมีส่วนร่วมโดยปราศจากการบังคับนี้กำลังเป็นสิ่งที่สังคมไทยกำลังฝันใฝ่ปรารถนายิ่งนัก บทความในวารสารเอเชียปริทัศน์ ฉบับที่ 2 ประจำปีพุทธศักราช 2565 ฉบับนี้เกี่ยวข้องกับความคิดเรื่องซอฟต์พาวเวอร์ไม่ทางตรงก็ทางอ้อม</p> <p>บทความของ<strong> กชภพ กรเพชรรัตน์ </strong>วิเคราะห์ให้เราเห็นถึงอำนาจของทรัพยากรทางวัฒนธรรมอย่างพิธีกรรมและการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ในการถ่ายทอด โน้มน้าวและสร้างจิตสำนึกทางการเมืองและสังคมให้แก่ผู้คนในสังกัดของรัฐไทย ทั้งที่เป็นรัฐจารีตและรัฐสมัยใหม่ บทความชิ้นนี้มองพิธีระดับชาติของรัฐไทยและพิธีกรรมระดับท้องถิ่นของอุบลราชธานี ผ่านแว่นของทฤษฎีรัฐนาฏกรรมของคลิฟเฟิร์ด เกียร์ทซ์ที่มองว่าพิธีกรรมหาใช่เป็นเพียงพิธีศักดิ์สิทธิ์ แต่ยังเป็นละครฉากใหญ่ที่ทำให้อำนาจที่เป็นนามธรรมให้กลายรูปธรรมขึ้นมา ทำให้ประชาชนที่เป็นผู้ชมสัมผัสได้ถึงบารมีของผู้นำและยอมรับโครงสร้างทางอำนาจได้อย่างปราศจากคำถาม และถึงแม้ว่าประเทศไทยจะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองและการเปลี่ยนโครงสร้างทางการเมืองจากรัฐจารีตแบบเดิมมาเป็นรัฐสมัยใหม่มาระยะหนึ่งแล้ว พิธีกรรมที่ใช้คติความเชื่อและโครงสร้างทางอำนาจแบบอินเดียก็ยังกลับถูกนำกลับมาใช้เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์อันสูงส่งให้แก่สถาบันทางการเมืองทั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่นอยู่เสมอ</p> <p>ในทำนองเดียวกัน บทความของ<strong> ขนบพร วงศ์กาฬสินธุ์ </strong>ก็วิเคราะห์เราเห็นถึงค่านิยมและอุดมคติของชาติที่ถูกถ่ายทอดและปลูกฝังผ่านหนังสือนิยายภาพหรือหนังสือการ์ตูนสำหรับเยาวชน บทความชิ้นนี้ให้ความสนใจกับนิยายภาพของอินเดียชุด เส้นทางสู่รากฐานของท่าน (The Route to Your Roots) ที่จัดพิมพ์มานับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1969 จนถึงปัจจุบัน สาระสำคัญของหนังสือนิยายภาพชุดนี้คือการปลูกฟังอุดมคติของความเป็นพลเมืองอินเดียหลังได้รับเอกราช พลเมืองผู้ที่รักและหวงแหนชาติอินเดียทั้งในมิติความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับเทพเจ้าและกับธรรมชาติ ผ่านเรื่องเล่าแบบมหากาพย์และปรัมปรา และประวัติบุคคลสำคัญ</p> <p>ถัดมา บทความของ <strong>ชาดา เตรียมวิทยา</strong> ก็ยังสนใจกับประเด็นทรัพยากรทางวัฒนธรรม โดยพยายามที่จะแสดงให้เห็นว่าเราจะสามารถใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่มีอยู่ในการฟื้นฟูชุมชนตลาดพลู อันเป็นชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งได้อย่างไร บทความชิ้นนี้มองว่า การแปลวัฒนธรรม ประเพณีและความเชื่อให้กลายเป็นกิจกรรมที่ผู้คนสามารถมีส่วนร่วมได้ เช่น การท่องเที่ยวแบบเดินเท้า (Walking Street) จะสามารถทำให้นักท่องเที่ยวได้รับประสบการณ์ในมิติทางศาสนาและความเชื่อ อันถือเป็นอำนาจละมุนที่จะดึงให้นักท่องเที่ยวการเข้าถึงชุมชนได้อย่างยั่งยืน</p> <p>สุดท้าย บทความของ<strong> นารีรัตน์ ปริสุทธิวุฒิพร</strong><strong>, วิริยา สีบุญเรือง, อภิราดี จันทร์แสง </strong>และ <strong>Scott Laird Rolston</strong> พูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียกับจีน รวมทั้งเหตุและปัจจัยที่ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองประเทศเสื่อมลงนับตั้งแต่การเกิดขึ้นของโครงการ One Belt One Road ของจีน โครงการดังกล่าวอาจจะถือได้ว่าเป็นกลไกในการขยายอิทธิพลของจีนในโลกผ่านอำนาจละมุนของการพัฒนาและความร่วมมือทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งบทความชิ้นนี้ได้ตั้งข้อสังเกตนี่น่าสนใจว่า กลไกดังกล่าวอาจจะสร้างปัญหาได้มากกว่าประโยชน์หากไม่สามารถดึงดูดให้คู่สัมพันธ์ก้าวข้ามความคิดแบบชาตินิยมและผลประโยชน์แห่งชาติได้</p> <p> </p>2022-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2022 Institute of Asian Studies Chulalongkorn University.https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/248929The Shadow of Indic Ideology in Political Power Expression in Contemporary Thailand. 2022-04-29T15:00:32+07:00Kotchaphop Kornphetcharatkornphetcharat.kotch@gmail.com<p>This article aims to study the expression of power by Indic ideology in the current Thai modern state through national and local ceremonies related to modern state leaders. To understand the meaning of power expression and the phenomena, the Theatre State theory introduced by Clifford Geertz, an anthropologist who observed the rituals in Bali, Indonesia, was applied in the analysis of this article. Based on his research and observation, he perceived the ritual which was not just a sacred ceremony but also a great drama scene that was able to transform the intangible concept of power into tangible reality. AlthoughThailand has changed the government and political structure since 1932, from a traditional state to a modern state, various ancient Indic rituals related to the leader are still practiced, mainly in order to improve the image of national and local political institutions. </p>2022-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2022 Institute of Asian Studies Chulalongkorn University.https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/256066Indian world view inspection from didactics in comic books “The Route to Your Roots” 2022-05-23T19:36:21+07:00KANOPPORN WONGKALASINkanopporn@gmail.com<p>When maxims are integrated into the content of comic books, they can shape the way of thought and behaviour of younger readers. Indeed, didactic text in comic books can reflects the values and ideals of the host society. In particular, children’s books often contain stories that imbue a sense of goodness and desired values for their society. These value systems have been passed on for many generations, and they help shape and mirror the personality of the nation. Given this phenomenon, it led to study in analyzing the Indian world view through the lens of the comic book series “<em>The Route to Your Roots</em>.” The first volume in this series was published in 1969, and subsequently became divided into six themes: (1) Epics and Mythology; (2) Fables and Humour; (3) Indian Classics; (4) Contemporary Classics; (5) Brave Hearts; and (6) Visionaries. The didactic portions are story segments which reflect the Indian world view, and these can be classified as follows: (1) Respecting Parents; (2) Family Ties; (3) Attainment of Knowledge - Respecting Teachers; (4) Deity Worship; (5) Respect for Nature; and (6) Love for nation. Studying the content in these comic book series is one way to help outsiders explore the foundation of the socio-cultural value system or world view, and provide a more profound understanding of that population. The values which members of society admire also represent the roots of a nation. </p> <p> </p>2022-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2022 Institute of Asian Studies Chulalongkorn University.https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/257316Soft Power for Tourism Promotion Management in Taladphlu Community2022-05-23T19:21:58+07:00Chada Triamvithayachada.tr@kmitl.ac.th<p>The “soft power” is used to refer to transliteration “Cultural power” that is hidden in various activities in the context of public policy implementation by communicating strategically in the form of campaigns and public relations to civil society at all levels to be aware to make those under this power concept Values according to the goals of the established strategy. The values according to goal of the established strategy with a charming way create a visual delight ready to be part of cooperation because it is accepted rather than the use of force from the “hard power”.</p> <p>The objectives of this research are: (1) study soft powers that promote cultural tourism in Talatphlu community; (2) explore cultural tourism routes of Chinese communities in Bangkok. This paper is mixed methods research which was qualitative and qualitative are involved. The methods used for qualitative data collection in the depth interviews and focus groups meeting consisted of the three participants in the event providing cultural tourism activities for Talatphlu community tourism promotion, two participants in professional in business owner, one participant who stay in Talatphlu community, one participant who is a historian community. The surveys were collected by 60 respondents of Thai tourists.</p> <p>The result from the qualitative research found that the pull of culture attractions in “Talatphlu” which is an old Chinese community in Bangkok where the “soft Power” that powers to build culture, traditions and beliefs becomes something of tourism market value. The visitors can touch the experience historical and cultural heritage which walking tourism activity in this community by walking tour street for to see religious sites in Talatphlu community. Therefore, the tourists get to experience the dimensions of religion and belief which is the soft power in accessing community-based tourism attractions.</p> <p> </p>2022-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2022 Institute of Asian Studies Chulalongkorn University.https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/257565Indian Nationalism in Relation to China towards the Context of New Silk Road2022-07-07T20:44:51+07:00นารีรัตน์ ปริสุทธิวุฒิพรnareerat_hi@hotmail.comวิริยา สีบุญเรืองWiriya.s@msu.ac.thอภิราดี จันทร์แสง ApiradeeJansaeng@msu.ac.thScott Laird Rolstonrolstonsl@yahoo.com<p>There were two purposes in this study: to find out a relationship between India and China focusing on a project of One Belt One Road from 2013 and to present (2021), and to explore causes of obstacles between the two countries during the project launch. As the research methodology, the concepts of nationalism and national interest were used to describe the project’s phenomenon.</p> <p> The findings showed that there were conflicts between India and China all the time from the past. Since the economic reform in 1991, India has accelerated its economy by encouraging private sectors for commerce as well as the foreign investments. The most investors in India became China. Since then, there were 3 periods of relationship alteration. From 2013 to 2015, the relationship between India and China appeared untroubled. From 2016 to 2019, India was suspicious China due to its CPEC in Pakistan. From 2020 to 2021, there has been conflicts along the Galwan River Valley.</p>2022-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2022 Institute of Asian Studies Chulalongkorn University.