ASIA PARIDARSANA https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview <p><strong><em>เอเชียปริทัศน์ </em></strong>เป็นวารสารวิชาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ของสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับเอเชียศึกษา เพื่อเปิดพื้นที่สำหรับการอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างนักวิชาการ และเพื่อเป็นช่องทางในการเผยแพร่ผลงานวิชาการสู่สาธารณะเพื่อประโยชน์แก่สังคมในวงกว้าง</p> <p><strong><em>เอเชียปริทัศน์ </em></strong>เผยแพร่ใน 2 รูปแบบ <strong>รูปแบบที่ 1 การตีพิมพ์</strong> เริ่มเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2522 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ตุลาคม – ธันวาคม 2522) ออกเผยแพร่ราย 3 เดือน และในปี พ.ศ. 2545 – ปีปัจจุบันออกเผยแพร่ราย 6 เดือน (มกราคม - มิถุนายน, กรกฎาคม - ธันวาคม) และอาจมีฉบับพิเศษปีละไม่เกิน 1 ฉบับ <strong>รูปแบบที่ 2 ระบบออนไลน์</strong> เผยแพร่บทความในระบบ ThaiJo2.0 (www.tci.thaijo.org) เริ่มในปี พ.ศ. 2560 ฉบับปีที่ 38 โดยตีพิมพ์บทความที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเอเชียศึกษาในมิติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ชาติพันธุ์ ภาษาและวรรณกรรม และมิติอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง</p> <p><strong><em>เอเชียปริทัศน์ </em></strong>ยินดีพิจารณาบทความวิจัย (research article) บทความทางวิชาการที่ไม่ใช่งานวิจัย (non-research academic article) บทความปริทัศน์ (review article) และบทปริทัศน์หนังสือ (book review) ที่อยู่ในขอบเขตเนื้อหาข้างต้น สามารถส่งบทความเพื่อรับการพิจารณาตีพิมพ์ได้ตลอดทั้งปี บทความที่ได้รับการพิจารณาจะได้รับการประเมินแบบไม่เปิดเผยตัวตนสองทาง (double-blind review) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ท่าน&nbsp;</p> <p>บทความต่างๆ ที่ตีพิมพ์ใน <strong><em>เอเชียปริทัศน์ </em></strong>&nbsp;เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้เขียนบทความเท่านั้น ผู้พิมพ์และกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องมีความคิดเห็นที่สอดคล้องกับความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความแต่อย่างใด</p> <p><strong>ลิขสิทธิ์วารสารและบทความเป็นของสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</strong></p> en-US บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันเอเชียศึกษา ดูตัวอย่างอื่นประกอบ ias@chula.ac.th (Jirayudh Sinthuphan) dollada.chu@gmail.com (Dollada Chuenjan) Mon, 13 Jan 2025 19:21:22 +0700 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 The Indian School of Decolonisation: The subaltern in the Greater Mekong Subregion from 1992 to 2022 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/274363 <p>This article examines how international cooperation among the riverine nation-states of the Mekong primarily benefits political elites while marginalising the voices of subaltern groups. The study focuses on China, Lao People’s Democratic Republic, Myanmar, Thailand, Cambodia, and Vietnam, where a colonial legacy of spatial and temporal interpretation—favoured by elites—remains predominant. Despite some states, such as People’s Republic of China and Thailand, claiming to have avoided formal colonisation, they nonetheless adopted Western forms of government. Using the theoretical framework of the Indian School of Decolonisation, which emerged during India’s struggle for independence and emphasises non-Western knowledge systems, this article highlights the importance of amplifying subaltern voices. Currently, scholarship and international politics in the Mekong Subregion are dominated by Western perspectives, leaving the local, non-elite peoples underrepresented. This study employs discourse analysis to examine fourteen international frameworks and regional initiatives established between 1992 and 2022 in the Mekong Subregion. The findings reveal that these initiatives and frameworks, shaped by elite and Western-centric interpretations of space, time, and peoples’ status, largely benefit the political elites, while the subaltern peoples remain marginalised and their concerns unaddressed. This article calls for greater recognition of the subalterns in the Mekong Subregion, advocating for their inclusion in international mechanisms and the promotion of their voices in regional initiatives.</p> Thanachate Wisaijorn Copyright (c) 2024 http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/274363 Mon, 13 Jan 2025 00:00:00 +0700 Tolerance to Unity: Muslim Ways of Unity in Diversity and Facing the COVID-19 Pandemic https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/274767 <p class="p1">This article examines how international cooperation among the riverine nation-states of the Mekong primarily benefits political elites while marginalising the voices of subaltern groups. The study focuses on China, Lao People’s Democratic Republic, Myanmar, Thailand, Cambodia, and Vietnam, where a colonial legacy of spatial and temporal interpretation—favoured by elites—remains predominant. Despite some states, such as People’s Republic of China and Thailand, claiming to have avoided formal colonisation, they nonetheless adopted Western forms of government. Using the theoretical framework of the Indian School of Decolonisation, which emerged during India’s struggle for independence and emphasises non-Western knowledge systems, this article highlights the importance of amplifying subaltern voices. Currently, scholarship and international politics in the Mekong Subregion are dominated by Western perspectives, leaving the local, non-elite peoples underrepresented. This study employs discourse analysis to examine fourteen international frameworks and regional initiatives established between 1992 and 2022 in the Mekong Subregion. The findings reveal that these initiatives and frameworks, shaped by elite and Western-centric interpretations of space, time, and peoples’ status, largely benefit the political elites, while the subaltern peoples remain marginalised and their concerns unaddressed.This article calls for greater recognition of the subalterns in the Mekong Subregion, advocating for their inclusion in international mechanisms and the promotion of their voices in regional initiatives.</p> Sarehan Khwankawin Copyright (c) 2024 http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/274767 Mon, 13 Jan 2025 00:00:00 +0700 My Hanuman Chalisa https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/277244 <p>ในศาสนาฮินดูผู้ที่ถือนับถือหนุมานจะสวดบทสวดสรรเสิญหนุมาน ที่เรียกว่า Hanuman Chalisa และเชื่อกันว่า หากผู้ใดสวดบทสวดหนุมานจะมีความสุขความเจริญ มีพลัง และหนุมานจะขจัดอุปสรรคได้ หนังสือเรื่อง My Hanuman Chalisa นำเสนอบทสวดที่เป็นบทประพันธ์ของกวีตุลสีดาส อธิบายความหมายของบทสวด และที่มาของเหตุการณ์และความเชื่อที่เกี่ยวข้องในบทประพันธ์ บทความปริทัศน์หนังสือชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอหนังสือ My Hanuman Chalisa ที่แต่งโดย เดวดัตต์ ปัตตานาอิก (Devdutt Pattanaik) โดยจะนำเสนอประวัติผู้แต่ง<a href="#_ftn1" name="_ftnref1">[1]</a> ผู้รจนาบทประพันธ์ เนื้อหา บทวิเคราะห์หนังสือจากมุมมองของผู้เขียนตามลำดับ</p> Simmee Oupra Copyright (c) 2024 http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/277244 Mon, 13 Jan 2025 00:00:00 +0700 Introduction https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/278505 <p>ในโลกที่เต็มไปด้วยความหลากหลายทางวัฒนธรรมและความเชื่อ ความท้าทายที่มนุษยชาติเผชิญมักสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างอดีตและปัจจุบัน ทั้งในมิติของการเมือง ศาสนา และการปรับตัวในยุคสมัยใหม่ บทความสามชิ้นที่กล่าวถึงในหนังสือเล่มนี้ แม้จะมีบริบทที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง ทั้งในเชิงภูมิศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม แต่ล้วนสื่อสารถึงประเด็นสำคัญของความเชื่อมโยงระหว่างความเชื่อ ความหวัง และการฟื้นฟูที่มนุษย์ใช้เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลง บทความในวารสาร <em>เอเชียปริทัศน์</em> ปีที่ 45 ฉบับที่ 1 ปีพุทธศักราช 2567 ฉบับนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเชื่อมโยงวัฒนธรรม ความเชื่อ และการปรับตัวในกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก</p> จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์ Copyright (c) 2024 วารสารเอเชียปริทัศน์ http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/asianreview/article/view/278505 Mon, 13 Jan 2025 00:00:00 +0700