https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/issue/feedBUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION2016-08-05T14:01:18+07:00ดร.สุวิมล โพธิ์กลิ่นphoglin@hotmail.comOpen Journal Systems<p>สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้จัดทำวารสารบริหารการศึกษา บัวบัณฑิตขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เป็นสื่อกลางแสดงความคิดเห็นทางวิชาการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่งเสริม การพัฒนาวิชาการทางการศึกษาและบริหารการศึกษา 2) เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ งานวิจัย และการศึกษา ค้นคว้าของคณาจารย์ นักวิชาการ นักศึกษา และผู้สนใจ ทั้งในและนอกสถาบัน โดยมีขอบเขตเนื้อหาเกี่ยวข้องกับ ศาสตร์ด้านการศึกษาและการบริหารการศึกษา สาขาวิชาที่รับตีพิมพ์ ได้แก่ ครุศาสตร์-ศึกษาศาสตร์-จิตวิทยา/ เทคโนโลยี/ สหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยทุกบทความจะได้รับการตรวจสอบทางวิชาการ จากผู้ทรงคุณวุฒิไม่น้อยกว่า 2 ท่านต่อหนึ่งบทความ</p>https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/64188“ยิ่งหิวยิ่งสุขภาพดี” โดย นพ. โยะชิโนะริ นะงุโมะ แปลโดย พิมพ์รักษ์ สุขสวัสดิ์2016-08-05T14:01:18+07:00สมาน อัศวภูมิbuajead@gmail.comCopyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63652รูปแบบการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนในฝันของโรงเรียนห้องแซงวิทยาคม2016-08-03T15:42:52+07:00ศักดา พันธุ์เพ็งbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนในฝันของโรงเรียนห้องแซงวิทยาคม 2) นำเสนอ รูปแบบการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานโรงเรียน ต้นแบบโรงเรียนในฝันของโรงเรียนห้องแซงวิทยาคม และ 3) ประเมินรูปแบบการบริหารจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนในฝันของโรงเรียน ห้องแซงวิทยาคม<p>วิธีดำเนินการวิจัย มี 4 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษากฎหมายการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของประเทศไทย แผนแม่บทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของประเทศไทย มาตรฐานการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อการศึกษาของกระทรวง ศึกษาธิการ ตำรา และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพื่อกำหนดตัวแปรที่เป็น องค์ประกอบของรูปแบบการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเป็นเครื่องมือในการดำเนินงาน โรงเรียนต้นแบบโรงเรียนในฝันของโรงเรียนห้องแซงวิทยาคม และสร้างเครื่องมือการวิจัย 2) เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชุมสนทนากลุ่ม ศึกษา ดูงาน และกำหนดองค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย แล้วประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ โดยผู้เชี่ยวชาญ 12 คน 3) สร้างรูปแบบการบริหารจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนในฝันของโรงเรียน ห้องแซงวิทยาคม แล้วประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ 15 คน และ 4) ประเมินรูปแบบโดยประชุมสนทนากลุ่ม (Focus Group) ผู้ทรงคุณวุฒิ 18 คนเพื่อวิพากษ์และ ประเมินรูปแบบการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเป็นเครื่องมือในการดำเนินงาน โรงเรียนต้นแบบโรงเรียนในฝันของโรงเรียนห้องแซงวิทยาคม</p><p>ผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน 1 คน หัวหน้าฝุายวิชาการ 1 คน หัวหน้ากลุ่มสาระ การเรียนรู้ 8 คน ครูประจำวิชาคอมพิวเตอร์ 1 คน ครูผู้รับผิดชอบงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1 คน ตัวแทนนักเรียน 12 คน ตัวแทนผู้ปกครอง 12 คน ตัวแทนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 9 คน และตัวแทนชุมชนท้องถิ่น 13 คน รวม 58 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ เชิงลึก แบบสอบถาม และคำถามการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา</p><p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. โรงเรียนห้องแซงวิทยาคม มีการบริหารจัดการโรงเรียนตามแผนหลักโครงการ “หนึ่งอำเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน” กรอบของแผนที่กลยุทธ์ แนวคิดหลักการบริหารระบบ CEO และแนวคิดการบริหารมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ อยู่ในระดับมากที่สุด (<img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /> = 4.73)</p><p>2. โรงเรียนแบ่งลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ICT (Information and Communication Technology) ออกเป็น 3 งานหลัก คือ 1) ICT เพื่อการเรียนการสอน 2) ICT เพื่อ การบริหารจัดการ และ 3) ICT เพื่อการบริการ มีองค์ประกอบหลักของรูปแบบซึ่งประกอบด้วย ก) กลไกของรูปแบบ : โดยโรงเรียนกำหนดภาระงาน บทบาทและหน้าที่ตามขอบข่ายการบริหารจัดการโรงเรียน ดังนี้ 1) กำหนด ยุทธศาสตร์การดำเนินงานตามแผนหลักโครงการ “หนึ่งอำเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน” กรอบของแผนที่กลยุทธ์ แนวคิดหลักการบริหารระบบ CEO และแนวคิดการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2) กำหนดและแต่งตั้งคณะกรรมการ รับผิดชอบงานต่าง ๆ บทบาทและหน้าที่ 3) กำหนดรูปแบบการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล และ 4) สนับสนุน งบประมาณและทรัพยากร ข) การดำเนินงาน : โรงเรียนได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ใน งานบริหารจัดการโรงเรียน งานจัดการเรียนการสอน และงานบริการ ตามองค์ประกอบหลักของรูปแบบฯ ทั้ง 6 ด้าน คือ 1) ด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2) ด้านการพัฒนาบุคลากร</p><p>3) ด้านแนวทางการจัดการเรียนการสอน/การจัดกระบวนการเรียนรู้ 4) ด้านการจัดหา/จัดทำทรัพยากรการเรียนรู้ 5) ด้านการบริหารจัดการภายในโรงเรียน และ 6) ด้านการสร้างความร่วมมือ ประสานงานกับเครือข่ายภายนอก 3. ผลการประเมินรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ภาพรวมของรูปแบบการบริหารจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนในฝันของ โรงเรียนห้องแซงวิทยาคม มีความเหมาะสม ความเป็นประโยชน์ และความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากที่สุด และผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่า รูปแบบฯ มีความสอดคล้องกับแผนที่กลยุทธ์ แนวคิดหลักการบริหารระบบ CEO และแนวคิดการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ และเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนห้อง แซงวิทยาคม ซึ่งสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่นควรนำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของตน และให้ข้อเสนอแนะ เพิ่มเติมว่า โรงเรียนควรประเมินสมรรถนะผู้เรียนด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง</p><p> </p><p><strong>The Model of Information and Communication Technology Administration as the Tool in Managing the Prototype Lab School of HongsaengWitthayakhom School</strong></p><p>The purposes of this research were 1) to investigate the state of information and communication technology utilization as the tool in managing the prototype lab school of Hongsaeng Witthayakhom School, 2) to propose the model of information and communication technology administration as a tool in managing the prototype lab school of Hongsaeng Witthayakhom School, and 3) to evaluate the model of information and communication technology administration as the tool in managing the prototype lab school of Hongsaeng Witthayakhom School.</p><p>The research was conducted in 4 different steps : 1) studying the educational laws, the 10<sup>th</sup> national economic and social development plan, the educational technology information policies of Thailand, the master plan of information and communication technology for education of Thailand, the standards of information and communication technology development for education of the Ministry of Education, the texts and the related literatures in order to determine the variables for the factors of the model of information and communication technology administration as the tool in managing the prototype lab school of Hongsaeng Witthayakhom School and in order to construct the research instruments, 2) gathering the data by conducting an in-depth interview, a focus group discussion, and a study tour and determining the main and sub factors as well as evaluating the model for the propriety and the feasibility by 12 specialists, 3) constructing the model of information and communication technology administration as the tool in managing the prototype lab school of Hongsaeng Witthayakhom School as well as evaluating the propriety, feasibility and utility of the model by 15 specialists, and 4) evaluating the model by conducting a focus group discussion using 18 experts to discuss and evaluate the model of information and communication technology administration as the tool in managing the prototype lab school of Hongsaeng Witthayakhom School.</p><p>The key informants included 1 school administrator, 1 head of the academic affairs, 8 heads of the curriculum learning areas, 1 teacher in charge of computer education, 1 teacher in charge of information and communication technology, 12 student representatives, 12 parent representatives, 9 representatives from the basic education school committee and 13 local community representatives, totally 58 people. The instruments used for data gathering included in-depth interview forms, a questionnaire, and questions for the focus group discussion. The statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis.</p><p><strong>The research findings were as follows:</strong></p><p>1. Hongsaeng Witthayakhom School was administrated in accordance with the master plan of “one district, one lab school”, the scope of strategic maps, the CEO systematic administrative principle concept , and the achievement-concentrated administrative concept at the highest level ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /> = 4.73)</p><p>2. The school divided the utilization of information and communication technology or ICT into 3 main tasks : 1) ICT for teaching and learning, 2) ICT for administration, and 3) ICT for services. There were model main factors including A) the model mechanism, which the school determined the tasks, roles and functions in accordance with the scope of school administration such as 1) determining operational strategies in accordance with the master plan of “one district, one lab school”, the scope of strategic maps, the CEO systematic administrative principle concept, and the achievement-concentrated administrative concept, 2) determining and appointing the committees in charge of various tasks with roles and functions, 3) determining the model for supervision, following-up and evaluation, and 4) providing budgetary and resource supports, B) the model operation, which the school utilized information and communication technology in the school administration, teaching and learning management, and services in accordance with the main factors of the model covering 6 areas such as 1) information and communication technology infrastructure, 2) personnel development, 3) teaching and learning management guidelines as well as learning process, 4) securing and producing learning resources, 5) school internal administrative affairs, and 6) creation of cooperation and external network coordination.</p><p>3. The result of the model evaluation by the experts was found that the overall of the model of information and communication technology administration as the tool in managing the prototype lab school of Hongsaeng Witthayakhom School had the propriety, utility and feasibility at the highest level and it was found by the experts that the model was consistent with the strategic maps, the CEO systematic administrative principle concept and the achievement-concentrated administrative concept. Moreover, the model was so useful for the development of the educational quality in Hongsaeng Witthayakhom School that other basic education schools should apply this model appropriately to their own contexts. Additionally, it was suggested that the schools should evaluate the student competence on the utilization of information and communication technology for their self-studies.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63654แนวทางการพัฒนาบทบาทหน้าที่และรูปแบบการพัฒนาครูของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาของท้องถิ่นที่สอดคล้องกับความคาดหวังของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา2016-08-03T15:42:52+07:00พงษ์ธร สิงห์พันธ์buajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความคาดหวังความต้องการพัฒนาครูของผู้บริหารสถานศึกษา และครูในเขตพื้นที่การศึกษา อุบลราชธานีที่มีต่อบทบาทการพัฒนาครูของคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาของท้องถิ่นและเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาบทบาทหน้าที่และรูปแบบ การพัฒนาครูของคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีที่สอดคล้องกับความคาดหวังของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี<p>กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ครูและผู้บริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1-5 จำแนกเป็น ครู 280 คน และผู้บริหาร 100 คน รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 380 คน โดยใช้เกณฑ์กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากตารางของ Krejcie and Morgan (อ้างถึงใน ธีรวุฒิ เอกะกุล 2550 : 143)</p><p>เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ชุดที่ 1 คือ แบบสอบถาม เกี่ยวกับสภาพป๎จจุบัน สภาพที่เป็นจริงและสภาพที่คาดหวังการพัฒนาครูของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ซึ่งเป็น แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .97 ชุดที่ 2 เป็นแบบบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion : F.G.D.) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน</p><p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. บทบาทในการพัฒนาครูของครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ในภาพรวม พบว่า สภาพที่เป็นจริงได้คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพความคาดหวังได้คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีผลต่างของคะแนนความคาดหวังและสภาพที่เป็นจริง เท่ากับ 1.36 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า บทบาท ที่ได้คะแนนเฉลี่ยสูงสุดตามสภาพที่เป็นจริง คือบทบาท การเป็นแหล่งเรียนรู้ การฝึกอบรมพัฒนาครู และ ให้บริการทางวิชาการได้คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมากและสภาพความคาดหวัง ที่ได้คะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือ บทบาทการเป็นแหล่งเรียนรู้ ฝึกอบรมพัฒนาครูและให้บริการทางวิชาการเช่นกัน มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด สภาพที่เป็นจริงของบทบาทในการพัฒนาครูที่ได้คะแนนเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ครุศาสตร์ร่วมเป็นเครือข่าย กับเขตพื้นที่และสถานศึกษาจัดอบรมพัฒนาครูผู้สอนกลุ่มสาระต่างๆ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง และ สภาพที่คาดหวังที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ การจัดทำหลักสูตรและรูปแบบการฝึกอบรมการพัฒนาครูที่ หลากหลายและสอดคล้องความต้องการการพัฒนาครู และบทบาทการพัฒนาตามสมรรถนะหลักของครู มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด</p><p>2. แนวทางการพัฒนาบทบาทและรูปแบบการพัฒนาครูของคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานีที่สอดคล้องกับความคาดหวังของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี ได้แก่ การเป็นแหล่งเรียนรู้และให้บริการทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ควรเป็นศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นศูนย์ ฝึกอบรมในรูปแบบที่เป็นสากล จัดอบรมและพัฒนาครูในทุกสาขาวิชา บทบาทการพัฒนาครู คณะครุศาสตร์ ควรเป็นเครือข่ายการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนร่วมกับครูในสถานศึกษา ควรให้บริการวิชาการ เชิงรุกสร้างเครือข่ายแต่ละอำเภอมีระบบการพัฒนาที่จูงใจให้ครูเข้ารับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและแนวทาง รูปแบบ หลักสูตร การพัฒนาครูควรมีแผนการพัฒนาครู ผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง มียุทธศาสตร์เชิงรุกเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษา ควรเป็นคลังสมองที่เป็นแหล่งรวบรวมภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ปราชญ์ ชาวบ้าน ควรเพิ่มบทบาทที่เน้นการบริการทางวิชาการเป็นงานหลักคณะครุศาสตร์ ควรจัดหลักสูตรและพัฒนา หลักสูตรอบรมครูอย่างต่อเนื่องทั้งระบบ ควรพัฒนาเป็นรูปแบบตลาดนัดทางวิชาการ เป็นหลักสูตรระยะสั้น อบรมเชิงปฏิบัติการ ควรมีหลักสูตรหลากหลายเพื่อให้ครูเลือกเข้าอบรมตามความสนใจ และควรพัฒนาครู ในระบบออนไลน์</p><p> </p><p><strong>Guidelines for Roles and Model of Teacher Development by Faculty of Educational in Ubon Ratchathani Rajabhat University in a Position of Local College-conforms to Expectation of the Schools in Educational Service Area.</strong></p><p>The objective of this research is to study the expectation of teacher development administrators from the School and teachers in Ubon Ratchathani educational service area. University, as a local That impacted to the teacher development, which ware roles of the faculty of education, Ubon Ratchathani Rajabhat University. In addition, to propose guidelines for developing of the roles and responsibilities as well as forms of the teacher development, in faculty of education, Ubon Ratchathani Rajabhat University. To conform the expectation of the basic educational school under Ubon Ratchathani educational service area.</p><p>The sample group in this research consisted of teachers and school administrator in at the basic educational school under Ubon Ratchathani educational service area 1-5. Totally 380 experimental units has divided to 280 teachers and 100 departmental chairmen. This research applied sample size determination according to Krejcie & Morgan table</p><p>Data collection tool, Part I: questionnaire. Concerning with current situation, actual situation and expected situation of teacher development in the faculty of education, Ubon Ratchathani Rajabhat University. This set of 5-point rating scale questions with the reliability of 0.97. Part II: Focus Group Discussion (F.G.D.). Applying statistics in data analysis as follow: percentage, average, and standard deviation (S.D.).</p><p><strong>The research results found that:</strong></p><p>1. Roles in teacher development of the faculty of education in Ubon Ratchathani Rajabhat University, the summary found that the actual situation average score was at a medium level and the expected situation average score was at a high level. Whereas the score difference between expected and actual equal to 1.36. Subsequently, individually consideration found that the highest average score of the actual situation roles were knowledge source, training, and providing academic services. In additional, the average score was a high level Besides, the roles that highest average scored in expected situation were knowledge resource, training, and providing academic services along with the high average score. While the lowest average score of the actual situation roles were the faculty of education participate with the educational area network and school organized development training for teacher by various subject. As a result of the average score was at the medium level Further, the roles that has lowest average score in expected situation were curriculums and forms of development for training, which conform to teacher development requirements, and core competency development with the highest average score.</p><p>2. Guidelines for role, responsibility, and development model of the faculty of education in Ubon Ratchathani Rajabhat University, which conform to the expectation of the basic educational school under Ubon Ratchathani educational service area, wear as follow: being source of knowledge and academic service provider, the faculty shall cultivate to be the knowledge management center, an international training center, with all subject fields training for teacher to development. On teacher development role, the faculty shall be a research network aimed to improve learning and teaching accompany with teachers in school. Providing active learning among district network for development system to motivate the teachers to participate the development consecutively. The teacher development strategies, and curriculums shall plan successful development for teachers and departmental chairmen. Offensive strategy for quality improvement in education accompany with the educational service area. Brain bank collected folk wisdom from village philosophers. Furthermore, a novel role focused on academic administration. The faculty shall continuously develop and improve the teacher training curriculum for the whole system. Evolution in form of academic showcase and market. For short term workshop program, the diversity of programs for teacher to participate by their interest. As well as online teacher development.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63655คุณธรรมจริยธรรมที่ส่งผลต่อสมรรถนะของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์2016-08-03T15:42:52+07:00สิทธิชัย ดีล้นbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาระดับคุณธรรมจริยธรรมที่ส่งผลต่อสมรรถนะของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างคุณธรรมจริยธรรมที่ส่งผลต่อสมรรถนะของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 3) เพื่อหาแนวทางพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมที่ส่งผลต่อสมรรถนะของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษา ภาคปกติมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ประจำ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 410 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นแบบสอบถามด้านคุณธรรมจริยธรรม ที่ส่งผลต่อสมรรถนะของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์เนื้อหา<p>ผลการวิจัยพบว่า</p><p>1. คุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาที่ปฏิบัติโดยรวมอยู่ในระดับมาก และสรรถนะนักศึกษาที่มีความเป็นไปได้ โดยรวมอยู่ในระดับมาก</p><p>2. คุณธรรมจริยธรรมและสมรรถนะของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มีความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01</p><p>3. แนวทางพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมที่ส่งผลต่อสมรรถนะของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ได้แก่ ส่งเสริมการจัดอบรมสัมมนาด้านความรู้ความสามารถเพื่อการประกอบวิชาชีพ การจัดสวัสดิการเพิ่มเติม และสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากรและศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ตามลำดับ</p><p> </p><p><strong>Moral Affecting Competency of Student at Buriram Rajabhat University</strong></p><p>This purposes of this research were 1) to study level of moral affecting competency of students at Buriram Rajabhat university 2) to search for the relation between moral and competency of student at Buriram Rajabhat university and 3) to seek for mean to develop moral affecting competency of students at Buriram Rajabhat university.Samples consisted of 410 students in academic year 2/2557 Buriram Rajabhat university selected by multi-stage Random Sampling. The instruments used in collecting data were a set of rating scale questionnaires about moral affecting competency of students at Buriram Rajabhat university. Statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, Peason’s Product Moment Correlation and content analysis.</p><p>The finding indicated as follow :</p><p>1. The levels of moral and competency of students at Buriram Rajabhat University, were at the high level.</p><p>2. There was a moral affecting competency of students at Buriram Rajabhat university at the .01 level of significance.</p><p>3. The seek for mean to develop moral affecting competency of students at Buriram Rajabhat university : Support seminar knowledge and practices for professional, Higher of welfare and support to conserve natural resources and local culture.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63663การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดการใช้วิจัยเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาประวัติศาสตร์ เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะการนาตนเองในการเรียนรู้ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 32016-08-03T15:42:52+07:00เคียงขวัญ ดงภักดีbuajead@gmail.comฉลอง พันธ์จันทร์buajead@gmail.comการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิด การวิจัยเป็นฐาน ประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาประวัติศาสตร์ เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะการนำตนเองในการเรียนรู้และการคิดอย่างมี วิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดการวิจัย เป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้แก่ (2.1) ศึกษา ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดการวิจัยเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 (2.2) เปรียบเทียบคุณลักษณะการนำตนเองในการเรียนรู้ ของนักเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดการวิจัยเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ ระหว่างก่อนเรียน และหลังเรียน (2.3) เปรียบเทียบการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยผสาน แนวคิดการวิจัยเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มเป้าหมายที่ให้ข้อมูลด้าน การจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ได้แก่ ครูผู้สอนรายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 2 คน และนักเรียนกลุ่มตัวอย่างในการตอบแบบสอบถามข้อมูลพื้นฐาน จำนวน 112 คน จาก โรงเรียนชุมชนหนองหิน และโรงเรียนบ้านโนนปอแดง และกลุ่มตัวอย่างนักเรียนในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนบ้านโนนปอแดง จำนวน 29 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ระยะที่ 1 ได้แก่ 1) แบบสอบถามนักเรียน เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาประวัติศาสตร์แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 20 ข้อ 2) แบบสัมภาษณ์ครูและนักเรียน 3) แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในชั้นเรียน และระยะที่ 2 ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดวิจัยเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาประวัติศาสตร์ จำนวน 8 แผน รวมเวลา 16 ชั่วโมง มีคุณภาพอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 25 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ .28 ถึง .63 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .79 และข้อสอบอัตนัย จำนวน 1 ข้อ 3) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จำนวน 25 ข้อ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 25 ข้อ ได้ค่าความยากตั้งแต่ .31 ถึง .71 ค่าอำนาจจำแนก ตั้งแต่ .37 ถึง .69 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .87 และ 4) คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test (Dependent Samples)<p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดวิจัยเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาประวัติศาสตร์ เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะการนำตนเองในการเรียนรู้และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นเผชิญสถานการณ์ และเหตุการณ์ในบทเรียน 2) ขั้นวิเคราะห์ความเชื่อด้วยประสบการณ์พื้นฐาน 3) ขั้นอ้างอิงและเสนอข้อโต้แย้ง 4) ขั้นยอมรับและลงความเห็นในความเชื่อ 5) ขั้นสรุปและนำไปใช้ ซึ่งผลการประเมินคุณภาพและความเหมาะสม ของแผนโดยผู้เชี่ยวชาญ มีค่าเฉลี่ยรายแผนตั้งแต่ 4.45–4.68 และค่าเฉลี่ยโดยรวม เท่ากับ 4.54</p><p>2. ผลการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดการวิจัยเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาประวัติศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปรากฏผลดังนี้</p><p>2.1 ประสิทธิภาพสำหรับการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดการวิจัยเป็นฐานประกอบ กลุ่มร่วมมือ วิชาประวัติศาสตร์ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.01/84.65 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 75/75 ที่กำหนดไว้</p><p>2.2 ผลการเปรียบเทียบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับจากการจัดการเรียนรู้โดย ผสานแนวคิดการวิจัยเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาประวัติศาสตร์ มีการนำตนเองในการเรียนรู้หลังเรียน ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /> = 67.04 ) สูงกว่าก่อนเรียน ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /> = 54.49) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 11.94*)</p><p>2.3 ผลการเปรียบเทียบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยผสาน แนวคิดการวิจัยเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาประวัติศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยความสามารถด้านการคิดอย่างมี วิจารณญาณหลังเรียน ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /> =33.87) สูงกว่าก่อนเรียน ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /> = 27.66) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 9.64*)</p><p> </p><p><strong>Developing a Learning Activity Combined Between Research-based Learning with Cooperative Learning Approach, for History Content Strand, to Promote Self-directed Learning and Critical Thinking of Matthayomsuksa 3 Students</strong></p><p>The purpose of this research were : 1) to develop learning management combined between Research-Based Learning with Cooperative Learning Approach, for History content strand, to promote self-directed learning and critical thinking of Matthayomsuksa 3 students, 2) to study the effects of learning management combined between Research-Based Learning with Cooperative Learning Approach, for History content strand, of Matthayomsuksa 3 students, which were comprised of : 2.1) to study for the efficiency of learning management combined between Research-Based Learning with Cooperative Learning Approach, for History content strand, with the required establishment of 75/75, 2.2) to compare self-directed learning of the students before and after learning with activity combined between Research-Based Learning and Cooperative Learning Approach, 2.3) to compare critical thinking of the students before and after learning with activity combined between Research-Based Learning and Cooperative Learning Approach. The target participants who given the concerned information about learning management in history content were consisted of 2 teachers, and the samples of 112 students for replying questionnaire from Ban Nonghin school and Ban Nonpodaeng school. Whereas, the samples for using learning management combined between Research-Based Learning and Cooperative Learning Approach were 29 students of Ban Nonpodaeng school, who obtained using cluster random sampling technique. The research instruments were comprised of : 1) questionnaire for the students about current state of leaning management in history content, 2) observing form for the classroom learning management, 3) interviewing forms for teachers and students about the state of problems and needs of learning management, 4) plans for learning management combined between Research-Based Learning and Cooperative Learning Approach for history content, for 8 plans with 16 hours, 5) learning achievement test with 25 item of multiple choices and 1 item of subjective test, 6) critical thinking test with 25 item of multiple choices, and 7) handbook for learning management. The statistics used for analyzing data were percentage, mean, standard deviation, and t-test (Dependent sample) was employed for testing hypotheses.</p><p><strong>The research findings were as follows:</strong></p><p>1. The results of developing for learning management combined Between Research-Based Learning and Cooperative Learning Approach for history content, to enhance self-directed learning and critical thinking of students were consisted of 5 steps as the following : 1) Confronting with learning situations, 2) Analyzing of belief with pre-experiences, 3) Inference and giving argument, 4) Accepting and judging in belief, 5) Concluding and implementing of knowledge. Which, showed quality and appropriateness score, that judged by concerned experts were 4.45-4.68 for each plan, and was 4.54 for overall of plans.</p><p>2. The effects of learning management combined between Research-Based Learning and Cooperative Learning Approach for history content for Mathayomsuksa 3 students were as :</p><p>2.1 Learning management combined between Research-Based Learning and Cooperative Learning Approach for history content in Mathayomsuksa 3 level had the efficiency of 82.01/84.65, which was higher than the establishment criterion of 75/75.</p><p>2.2 The students who provided of learning management combined between Research-Based Learning and Cooperative Learning Approach for history content showed higher of self-directed learning at after than before learning at the .05 level of significance.</p><p>2.3 The students who provided of learning management combined between Research-Based Learning and Cooperative Learning Approach for history content showed higher of critical thinking at after than before learning at the .05 level of significance.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63664การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดทฤษฎีการประมวลผลข้อมูล ประกอบกลุ่มร่วมมือเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 52016-08-03T15:42:52+07:00ณัชชา ทัดภูธรbuajead@gmail.comธีระพงษ์ มีไธสงbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อ (1) พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดทฤษฎี การประมวลผลข้อมูลประกอบกลุ่มร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านและการเขียน ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (2) ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดทฤษฎีการประมวลผล ข้อมูลประกอบกลุ่มร่วมมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียน ดังนี้ (2.1) ศึกษาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดทฤษฎีการประมวลผลข้อมูลประกอบกลุ่มร่วมมือ ตามเกณฑ์ 75/75 (2.2) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียน ที่ได้รับการจัด การเรียนรู้โดยผสานแนวคิดทฤษฎีการประมวลผลข้อมูลประกอบกลุ่มร่วมมือ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน (2.3) เปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยผสาน แนวคิดทฤษฎีการประมวลผลข้อมูลประกอบกลุ่มร่วมมือ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 2) แบบสัมภาษณ์ครูและนักเรียน 3) แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในชั้นเรียน 4) แผนการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดทฤษฎีการประมวลผลข้อมูล ประกอบกลุ่มร่วมมือ วิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 8 แผน 5) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษ 6) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษ เป็นแบบทดสอบอัตนัยจำนวน 2 ข้อ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานด้วย t– test (Dependent Samples)<p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. ผลการศึกษาพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย 5 ขั้น ได้แก่ 1) ขั้นเตรียม ความพร้อม 2) ขั้นนำเสนอความรู้ 3) ขั้นฝึกปฏิบัติและสะท้อนผล 4) ขั้นการปรับใช้ภาษา 5) ขั้นสรุปและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีคะแนนผลการประเมินคุณภาพและความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้จาก ผู้เชี่ยวชาญ รายแผนอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด และผลการประเมินโดยรวม อยู่ในระดับมาก</p><p>2. ผลการจัดการเรียนรู้โดยการผสานแนวคิดทฤษฎีการประมวลผลข้อมูลประกอบกลุ่ม ร่วมมือ วิชาภาษาอังกฤษ พบว่า</p><p>2.1 ผลการศึกษาหาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้โดยผสานแนวคิดทฤษฎีการประมวลผล ข้อมูลประกอบกลุ่มร่วมมือ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.34/87.99 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 75/75</p><p>2.2 นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยการผสานแนวคิดทฤษฎีการประมวลผลข้อมูล ประกอบกลุ่มร่วมมือ มีความสามารถด้านการอ่านเพื่อความเข้าใจ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05</p><p>2.3 นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยการผสานแนวคิดทฤษฎีการประมวลผลข้อมูล ประกอบกลุ่มร่วมมือมีความสามารถด้านการเขียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p><p> </p><p><strong>Development of Learning Process Based on Information Processing Theory with Cooperative Learning Approach to Enhance Abilities on Reading Comprehension and Writing in English of Prathomsuksa 5 Students</strong></p><p>The purpose of this study were : 1) to develop learning management process based on Information Processing theory with Cooperative Learning approach to enhance abilities on reading comprehension and writing in English of Prathomsuksa 5 students, 2) to study the outcomes of learning management based on Information Processing theory with Cooperative Learning approach for Prathomsuksa 5 students, those were : 2.1) to find out the efficiency of learning management based on Information Processing theory with Cooperative Learning approach in English, with the required establishment of 75/75, 2.2) to compare ability in English reading comprehension of students, between before and after learning based on that approach, and 2.3) to compare ability in English writing of students, between before and after learning based on that approach. The research instruments were comprised of: 1) questionnaire for the students gave about current state of leaning management, 2) interviewing forms for teachers and students about problems and needs of learning management in English, 3) observing forms for the classroom learning management, 4) plans for learning management based Information Processing theory with Cooperative Learning approach in English for 8 plans. 5) the test for students’ reading comprehension. and 6) the 2 items of subjective test for writing ability. The statistics used for analyzing data were percentage, mean, standard deviation, and t-test (Dependent sample) was employed for testing hypotheses.</p><p><strong>The results of study were as follows :</strong></p><p>1. The results of study, that consisted of 5 steps were as: 1) Preparation step ,</p><p>2) Presentation of knowledge, 3) Practice drill and reflection, 4) Application with language, and 5) Concluding and reciprocity of knowledge. Additionally, the assessing for quality and appropriateness of learning management plans by experts were at a high to highest level for each plan, and was at a high level for overall of plans.</p><p>2. The result of learning management based on Information Processing theory with Copperative learning approach for English subject reveals.</p><p>2.1 The result of study learning management based on Information Processing theory with Cooperative Learning approach to enhance abilities in English reading comprehension and writing of students, had the efficiencies of 84.34/87.99, which was higher than the criterion establishment.</p><p>2.2 The students who learned based on Information Processing theory with Cooperative Learning approach showed higher of reading comprehension ability than before learning at the .05 level of significance.</p><p>2.3 The students who learned based on Information Processing theory with Cooperative Learning approach, showed higher of writing ability in English than before learning, at the .05 level of significance.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63665การพัฒนาครูโรงเรียนบ้านท่าบ่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียน2016-08-03T15:42:52+07:00วิสุทธิ์ ราตรีbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาครูโรงเรียนบ้านท่าบ่อให้สามารถจัดการเรียนรู้ โดยใช้ กระบวนการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียน 2) ศึกษาผลการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน บ้านท่าบ่อ โดยใช้กระบวนการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียน และ 3) ประเมินความพึงพอใจของครู โรงเรียนบ้านท่าบ่อที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียน กลุ่มผู้ร่วมวิจัย ประกอบด้วย ผู้วิจัย 1 คน คณะครูโรงเรียนบ้านท่าบ่อ ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รวม 26 คน และผู้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมอีก 3 คน กลยุทธ์ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การประชุมเชิงปฏิบัติการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการนิเทศโดยระบบพี่เลี้ยง โดยใช้หลักการวิจัยปฏิบัติการของ Kemmis และ Mc Taggart 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การวางแผน 2) การปฏิบัติการ 3) การสังเกตและ 4) การสะท้อน การปฏิบัติ จำนวน 2 วงรอบ ระหว่างภาคเรียนที่ 2/2554 ถึงภาคเรียนที่ 1/2556<p><strong>ผลการวิจัยพบว่า</strong> ก่อนการพัฒนาคณะครูโรงเรียนบ้านท่าบ่อส่วนมากยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียน และไม่สามารถ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียนได้ หลังการพัฒนาในวงรอบที่ 1 ระหว่างภาคเรียนที่ 2/2554 ถึงภาคเรียนที่ 1/2555 คณะครูมีความรู้ความเข้าใจ ในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการสร้าง วัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียนได้ แต่ไม่ครบทุกคน และเมื่อเสร็จสิ้นการพัฒนาในวงรอบที่ 2 ระหว่างภาคเรียนที่ 2/2555 ถึงภาคเรียนที่ 1/2556 พบว่า คณะครูเกือบทั้งหมดสามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ และจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียนได้ และมีความพึงพอใจต่อการจัด การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยสร้างวัฒนธรรมการวิจัยในโรงเรียนอยู่ในระดับมาก</p><p> </p><p><strong>The Teacher Improvement in Taboa School on Teaching by The Process of Research Culture created in School</strong></p><p>The purposes of this research were 1) to improved the teachers in Taboa school on teaching by the process of research culture created in school, 2) to studied the result of teachers’ improvement in Taboa school on teaching by the process of research culture created in school and 3) to evaluated the teachers’ satisfaction in Taboa school on teaching by the process of research culture created in school. The research team were 1 researcher, 26 teachers in Taboa school and 6 person for collected the other data. The research strategies were workshop, knowledge sharing and coaching and mentoring technique on Kemmis and Mc taggart’s operation research in 4 steps plan, action, observe and reflect in 2 spiral between the 2/2554 (B.E.) to the 1/2556 (B.E.) semester.</p><p><strong>The research finding were as follow : </strong></p><p>Before the improvement the most teachers lack of knowledge in teaching by the process of research culture created and cannot done the learning plan and taught by this mean. After the improvement in the first spiral during 2/2554 (B.E.) to 1/2555 (B.E.) semester the most teachers knew and can done the learning plan and taught by this mean. When the second spiral improvement finish after 1/2556 (B.E.) semester all teachers can done lesson plan and taught very well. Moreover all teachers satisfaction on the project in the high level.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63666ระบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน2016-08-03T15:42:52+07:00ไตรรัตน์ โคสะสุbuajead@gmail.comสมาน อัศวภูมิbuajead@gmail.comพงษ์ธร สิงห์พันธ์buajead@gmail.com<p>การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาการประเมินคุณภาพภายใน สถานศึกษา 2) เพื่อออกแบบระบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ 3) เพื่อตรวจสอบและประเมินระบบและ วิธีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาดังกล่าว กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ผู้บริหารการศึกษาสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 52 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ ในการประเมินและปรับปรุงรูปแบบ 17 คน และผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินรูปแบบ 21 คน เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วยแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา</p><p>ผลการวิจัยพบว่า</p><p>1. สภาพปัจจุบันและปัญหาพบว่าสภาพการดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก และประเด็นที่มีปัญหาคือ ด้านการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา ด้านการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่อง </p><p>2. ระบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ระบบการประเมิน และวิธีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา สำหรับระบบการประเมินนั้น แบ่งออกเป็น 3 ระดับคือ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับเครือข่ายสถานศึกษา และระดับสถานศึกษา ส่วนวิธีการประเมิน คุณภาพภายในทั้ง 3 ระดับนั้น เป็นการประเมินกระบวนการประกันคุณภาพภายในทั้ง 8 ขั้นตอน ประกอบด้วย แนวการประเมิน 1) การกำหนดมาตรฐานการศึกษา 2) การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา 3) การจัดระบบ บริหารและสารสนเทศ 4) การดำเนินงานตามแผน 5) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 6) การประเมิน คุณภาพภายใน 7) การจัดทำรายงานประจำปี และ 8) การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง</p><p>3. ผลการประเมินระบบและวิธีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้านความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์โดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่าทั้ง ระบบและวิธีการ โดยภาพรวมและรายด้าน มีความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมาก</p><p> </p><p><strong>The School Internal Quality Evaluation System and Methods of the Office of the Primary Education Area Under the Jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission </strong></p><p>The objectives of the research were (1) to study the current states and problems of the internal quality evaluation, (2) to design the school internal quality system and methods of the Office of the Primary Education area under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission, and (3) to evaluate the system and methods. The samples consisted of 52 school administrators under the Office of the Primary Education Area, 17 experts in the evaluation and improvement process, and 21 experts responsible for evaluation of the final stage of the model. The research instruments were the questionnaire and interviews. Data were analyzed by using frequency, mean, standard deviation and content analysis.</p><p>The research findings were as follows :</p><p> </p><p>1. The current states and problems revealed that the internal quality evaluation were perceived as higher level of operation. The aspects that had been done less than others were an educational development plan, a plan-making process, and a continual educational quality development.</p><p>2. The school internal quality evaluation system and methods of the educational area consisted of two main components, namely the levels of evaluation and school internal quality evaluation guidelines. The levels of evaluation divided into three levels: Educational Area Level, School Network Level, and School Level. The school internal quality evaluation guidelines consisted of 8 steps as follow: the guidelines on (1) Educational Standard Setting, (2) Development Plans on Education, (3) Designing Administration and Information Systems, (4) Plan Implementation, (5) Educational Quality Monitoring, (6) Internal Quality Evaluation, (7) Annual Report Writing, and (8) Continuous Quality Development. </p><p>3. The Evaluation of suitability, possibility and utility of the internal quality evaluation system and methods, as a whole and in individual aspects were perceive as higher level.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63667การบริหารงานวิชาการที่สัมพันธ์กับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 42016-08-03T15:42:52+07:00สาวิตรี ศรีวะบุตรbuajead@gmail.comวีระยุทธ ชาตะกาญจน์buajead@gmail.comพรศักดิ์ จินาbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 ศึกษาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารวิชาการกับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 จำนวนทั้งสิ้น 103 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson's product-moment Coefficient)<p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. การบริหารงานวิชาการที่สัมพันธ์กับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติชั้นพื้นฐาน (O-NET) ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?%5Cbar%7BX%7D" alt="\bar{X}" /> = 3.66) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับการบริหารงานวิชาการเรียงตามลำดับ ค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?%5Cbar%7BX%7D" alt="\bar{X}" /> = 3.83) ด้านการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?%5Cbar%7BX%7D" alt="\bar{X}" /> = 3.73) ด้านการนิเทศการศึกษา ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?%5Cbar%7BX%7D" alt="\bar{X}" /> = 3.62) ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?%5Cbar%7BX%7D" alt="\bar{X}" /> = 3.61) ด้านการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?%5Cbar%7BX%7D" alt="\bar{X}" /> = 3.60) และ ด้านการวัดผลประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียนรู้ ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?%5Cbar%7BX%7D" alt="\bar{X}" /> = 3.59)</p><p>2. ผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2556 โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?%5Cbar%7BX%7D" alt="\bar{X}" /> = 46.71) เมื่อจำแนกตามรายวิชา พบว่า O-NET วิชาภาษาไทย O-NET วิชาวิทยาศาสตร์ O-NET วิชาศิลปะ และ O-NET วิชาการงานอาชีพและ เทคโนโลยี มีผลคะแนนอยู่ในระดับค่อนข้างดี ส่วน O-NET วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม O-NET วิชาภาษาอังกฤษ และ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ มีผลคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง และ O-NET วิชาสุขศึกษา มีผลคะแนนอยู่ในระดับพอใช้</p><p>3. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในของการบริหารงานวิชาการกับผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 มีค่า อยู่ระหว่าง -.291 ถึง .170 โดยการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษากับผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 มีความสัมพันธ์ทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p><p> </p><p><strong>The Relationship between Academic Administration with The Results of Ordinary National Educational Test (O – NET) of Grade 6 students in basic education under Nakhon Si Thammarat Educational Service Area Office 4</strong></p><p>The objectives of this research aimed to study; 1) the academic administration in basic education schools. 2) the results of ordinary national educational test (O–NET) of grade 6 students, and 3) the relationship between academic administration with the results of ordinary national educational test (O – NET) of grade 6 students in basic education schools under Nakhon Si Thammarat Educational Service Area Office 4. The 103 samples are school directors. The instruments for data collecting are questionnaires. The statistics were analyzed by frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Pearson's product-moment coefficient.</p><p><strong>The findings were as follows:</strong></p><p>1. The overall of the relationship between academic administrations with the results of ordinary national educational test (O–NET) of grade 6 students in basic education schools under Nakhon Si Thammarat Educational Service Area Office 4 are in high level ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?%5Cbar%7BX%7D" alt="\bar{X}" /> = 3.66). When considered and sequenced in academic administrations from high level are curriculum development, internal quality assurance and educational standard, educational supervision, research, instruction and evaluation.</p><p>2. The overall results of ordinary national educational test (O-NET) of grade 6 students in academic year 2013 are in middle level ( <img src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?%5Cbar%7BX%7D" alt="\bar{X}" /> = 3.66). When classified by each subject found that Thai, science, art and career and technology are in good level. While social studies, religion and culture, English and mathematic are in middle level. Only health education is in fair level.</p><p>3. The correlation coefficient between academic administrations with the results of ordinary national educational test shown in-between -.291–.170 with statically significant at .05</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63669การพัฒนาตัวบ่งชี้การบริหารจัดการที่ดีตามภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคใต้2016-08-03T15:42:52+07:00นันทพงศ์ หมิแหละหมันbuajead@gmail.comอรุณ จุติผลbuajead@gmail.comธีระ รุญเจริญbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างตัวบ่งชี้ ตรวจสอบคุณภาพ และวิเคราะห์ตัวบ่งชี้การบริหาร จัดการที่ดีตามภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้บริหาร อาจารย์ ทางวิชาการ และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคใต้ 10 แห่ง จำนวน 81คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่าง อย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .968 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis: EFA)<p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. ผลการสร้างตัวบ่งชี้การบริหารจัดการที่ดีนำไปใช้ดำเนินการตามภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย ปรากฏว่าการนำหลักนิติธรรมหลักคุณธรรมหลักความโปร่งใส่หลักการมีส่วนร่วมหลักความรับผิดชอบหลัก ความคุ้มค่าไปใช้ในภารกิจการด้านการเรียนการสอนและผลิตบัณฑิตมี 20 ตัวบ่งชี้ด้านการวิจัยมี 15 ตัวบ่งชี้ ด้านบริการวิชาการมี 10 ตัวบ่งชี้และด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมมี 5 ตัวบ่งชี้ตามลำดับ</p><p>2. ผลการตรวจสอบคุณภาพตัวบ่งชี้ของการบริหารจัดการที่ดีเพื่อนำมาใช้ พบว่า ตัวบ่งชี้ ที่สร้างขึ้นมีความเหมาะสมในการนำมาใช้บริหารจัดการตามภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย ในระดับสูงทุกด้าน มีค่าความเชื่อถือได้ในระดับสูงมาก และเมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของตัวบ่งชี้ปรากฏว่า สามารถใช้ได้ตามเกณฑ์ 10 องค์ประกอบ</p><p>3. ผลการวิเคราะห์ตัวบ่งชี้ของการบริหารจัดการที่ดี พบว่า สามารถนำมาใช้ได้ 48 ตัวบ่งชี้ โดยแบ่งกลุ่มองค์ประกอบได้ทั้งหมด 10 องค์ประกอบ โดยแต่ละองค์ประกอบมีตัวบ่งชี้ เรียงตามลำดับ คือ 9 ตัวบ่งชี้ 6 ตัวบ่งชี้ 7 ตัวบ่งชี้ 6 ตัวบ่งชี้ 3 ตัวบ่งชี้ 4 ตัวบ่งชี้ 3 ตัวบ่งชี้ 4 ตัวบ่งชี้ 3 ตัวบ่งชี้ และ 3 ตัวบ่งชี้ ตามลำดับ</p><p> </p><p><strong>A Development of Good Governance Indicators for the Core Mission of Universities in the South</strong></p><p>The objective of this research were to create, quality monitoring and analysis the indicators of good governance as a core mission of the universities in the South. The 81 samples consisted of administrators, academic lecturers and students from 10 universities in south of Thailand. Samples selected by simple random sampling method. The instruments were questionnaires with the reliability of. 968, statistics for data analyzed were percentage, mean, standard deviation and exploratory factor analysis (EFA).</p><p><strong>The research findings were as follows:</strong></p><p>1. The creation of the indicators of good governance were carry out for the core mission of the universities found that the principle of rule of law, morality, transparency, participation, responsiveness and effectiveness. The creations of the indicators to use as a core mission of the universities are 1) learning, teaching and producing graduates have 20 indicators. 2) developing research has 15 indicators. 3) academic services have 10 indicators and 4) integration of local and universal wisdom has 5 indicators respectively.</p><p>2. The quality monitoring of all indicators are suitable and in a very high level of reliability. When analyzed the indicators factor found the available of 10 factors.</p><p>3. The analyzed result indicators found that can be used 48 indicators. When grouping by the available of 10 factors found the sequence in order is 9 , 6 , 7 ,6 , 3 , 4 , 3 , 4 , 3 and 3 indicator respectively.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63702การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยประยุกต์แนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความและการเขียนสื่อความ วิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 32016-08-03T15:42:52+07:00ปิลันธร ชินกรbuajead@gmail.comสุรชา อมรพันธุ์buajead@gmail.comสุมาลี ชูกำแพงbuajead@gmail.com<p>การวิจัยปฏิบัติการครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยประยุกต์แนวคิดทฤษฎี พหุปัญญา ส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านจับใจความและการเขียนสื่อความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคุณภาพ 2) ศึกษาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้โดยประยุกต์แนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา วิชาภาษาไทย ตามเกณฑ์ 75/75 3) ศึกษาความสามารถการอ่านจับใจความ และการเขียนสื่อความ ของนักเรียนที่ได้รับการจัด การเรียนรู้โดยประยุกต์แนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา ก่อนเรียนและหลังเรียน การวิจัยปฏิบัติการครั้งนี้ดำเนินการ</p><p>โดยผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัยที่เป็นครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 อีก 1 คน และนักเรียนกลุ่มเปูาหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองธวัชบุรี อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ปีการศึกษา 2557 จำนวน 25 คน ซึ่งดำเนินการวิจัยปฏิบัติการ 3 วงรอบ แต่ละวงรอบประกอบด้วยการวางแผน การปฏิบัติการ การสังเกต และสะท้อนผลการปฏิบัติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยประยุกต์แนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา วิชาภาษาไทย จำนวน 8 แผน ใช้เวลาจัดการเรียนรู้แผนละ 2 ชั่วโมง รวม 16 ชั่วโมง 2) แบบบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้วิจัย แบบบันทึกพฤติกรรมการเรียน ของผู้เรียน และแบบทดสอบท้ายวงรอบปฏิบัติการ 3) แบบทดสอบความสามารถการอ่านจับใจความ ชนิด เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ และ 4) แบบทดสอบความสามารถการเขียนสื่อความ เป็นแบบอัตนัย จำนวน 2 ข้อ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำเสนอข้อมูล เชิงคุณภาพด้วยการพรรณนาวิเคราะห์</p><p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยประยุกต์แนวคิดทฤษฎีพหุปัญญาเพื่อส่งเสริม ความสามารถด้านการอ่านจับใจความและการเขียนสื่อความ วิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคุณภาพมีขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5 ขั้น ได้แก่ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นนำเสนอเนื้อหาใหม่ 3) ขั้นสรุป ความคิดรวบยอดและฝึกทักษะ 4) ขั้นนำความรู้ไปใช้ และ 5) ขั้นประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งมีผลการประเมินคุณภาพและความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญ ทั้งรายแผนและโดยรวมอยู่ในระดับมาก ผลการนำกระบวนการเรียนรู้ไปใช้กับนักเรียนพบว่า นักเรียนมีโอกาสเรียนรู้ตามกิจกรรมที่กำหนด รวมทั้ง ได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมที่แตกต่าง สอดคล้องกับพัฒนาการและความต้องการของผู้เรียนที่หลากหลาย ส่งผลให้เกิด ความคิดรวบยอดในบทเรียนอย่างถูกต้อง สามารถอ่านจับใจความและเขียนสื่อความข้อมูลเหตุการณ์ ควบคู่กับ การฝึกและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายในสถานการณ์อื่นด้วยความเข้าใจ</p><p>2. การจัดการเรียนรู้โดยประยุกต์แนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา เพื่อส่งเสริมความสามารถ ด้านการอ่านจับใจความและการเขียนสื่อความ วิชาภาษาไทย ของนักเรียน พบว่า การจัดการเรียนรู้มี ประสิทธิภาพเท่ากับ 76.83/77.87 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 75/75 โดยที่นักเรียนมีความสามารถการอ่านและ การเขียนในแต่ละวงรอบ ดังนี้ วงรอบที่ 1 มีค่าเฉลี่ยการอ่านและการเขียนเท่ากับ 22.55 และ 22.60 วงรอบที่ 2 มีค่าเฉลี่ยการอ่านและการเขียนเท่ากับ 22.72 และ 23.08 และวงรอบที่ 3 มีค่าเฉลี่ยการอ่านและการเขียน เท่ากับ 24.30 และ 24.72 ตามลำดับ</p><p>3. ผลการศึกษาความสามารถด้านการอ่านจับใจความและการเขียนสื่อความ วิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยประยุกต์แนวคิดทฤษฎีพหุปัญญาก่อนเรียน และหลังเรียน พบว่า นักเรียนมีความสามารถด้านการอ่านจับใจความก่อนเรียนเท่ากับ 20.32 และหลังเรียน เท่ากับ 22.80 คิดเป็นร้อยละ 76.00 และมีความสามารถด้านการเขียนสื่อความก่อนเรียนเท่ากับ 20.76 และ หลังเรียนเท่ากับ 23.92 คิดเป็นร้อยละ 79.73</p><p> </p><p><strong>Development of Learning Management with Applying of The Multiple Intelligences Theory in Enhancing of Reading and Writing Abilities in Thai Language of Prathomsuksa 3 Students</strong></p><p>The purposes of this action research study were: 1) to develop of learning management with applying of the multiple intelligences Theory to enhance of reading and writing abilities in Thai Language of Prathomsuksa 3 students effectively, 2) to find out for the efficiency of learning management with applying of the multiple intelligences theory for Thai language learning in Prathomsuksa 3 level, with the required criterion establishment of 75/75, 3) to study for reading and writing abilities of the students, at before and after learning based on applying of the multiple intelligences theory for Thai language learning. This action research was operated by researcher and a participant was Prathomsuksa 3 teacher and target group of students were 25 Prathosuksa 3 students in Thawatburi school, Thawatburi District, Roi-Et Province, in the academic year of 2014. In providing of action research was comprised of 3 spirals, and activities in each spiral were planning, action, observation and reflection. For the research instruments consisted of : 1) 8 lesson plans of Thai language learning based on applying of the multiple intelligences theory with 16 hours, 2) recording form of the results of researcher’s learning activities, the student’s learning behaviors, and post-test for each spiral of action research, 3) a 30 item-test of reading ability for the multiple choices form, and 4) a 2 item of subjective test for writing ability. The statistics used for analyzing data were percentage, mean, standard deviation, and presented qualitative data with narrative analysis.</p><p><strong>The results of this study were as follows:</strong></p><p>1. Developing of lesson plans for learning management based on applying of the multiple intelligences theory to enhance of students’ reading and writing in Thai language for Prathomsuksa 3 level, was composed of 5 steps in learning activities, those are : 1) Learning engagement, 2) Presentation for new knowledge, 3) Concluding of conceptions and practicing, 4) Application of knowledge, 5) Learning assessment. Which the result of evaluating for quality and appropriateness of lesson plans by experts were at a high level, both for each plan and overall of plans. The results of learning activities were found that, the students had more opportunities in learning with variety of provided activities in class and was congruence with the nature and needs of learners differently. Lastly, was effected the students to gain of concepts learning correctly, and the students could learn in reading and writing, accompanied with practicing and applying of knowledge in other situations with understandingly.</p><p>2. Learning management based on applying of the multiple intelligences theory to enhance of students’ reading and writing in Thai language, found that had efficiency of 76.83/77.87, which was higher than the established criterion of 75/75. Whereas, the students had abilities in reading and writing of each spiral were 22.55 and 22.60 ; 22.72 and 23.08 ; 24.30 and 24.72 respectively.</p><p>3. The results of the students’ abilities in reading and writing of learning management based on applying of the multiple intelligences theory at before and after learning were 20.32 and 22.80 for enhancing of reading, and 20.76 and 23.92 for enhancing of writing respectively.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63704การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม2016-08-03T15:42:52+07:00มณีรัตน์ อภิวัฒนวรรณbuajead@gmail.comญญธร ศรีวิเชียรbuajead@gmail.com<p>การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัด 2) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และ 3) พัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สำหรับ สถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม การวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษา องค์ประกอบและตัวชี้วัดการบริหารงานวิชาการ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สำหรับสถานศึกษาสังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมิน ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์การบริหารงานวิชาการ ด้านการพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน จำนวน 214 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ระยะที่ 3 การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าฝุายวิชาการ และครูผู้สอน จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p><p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. องค์ประกอบและตัวชี้วัดการบริหารงานวิชาการ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สำหรับ สถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลำดับ คะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การวัดและประเมินผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การส่งเสริมและ การพัฒนาครู การมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการส่งเสริมสื่อและแหล่งเรียนรู้</p><p>2. สภาพปัจจุบันการบริหารงานวิชาการ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมาก ไปหาน้อย 3 ลำดับ ได้แก่ การส่งเสริมสื่อและแหล่งเรียนรู้ การมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ การวัดและการประเมินผล สภาพที่พึงประสงค์การบริหารงานวิชาการ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ของสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลำดับคะแนนเฉลี่ย จากมากไปหาน้อย 3 ลำดับ ได้แก่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การส่งเสริมและการพัฒนาครู และการวัดและ การประเมินผล </p><p>3. แนวทางการบริหารงานวิชาการ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม 1) ด้านการส่งเสริมและการพัฒนาครู จัดอบรมและส่งครูเข้ารับ การอบรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง จัดครูเข้าสอนให้เหมาะสม นิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และนำผลการนิเทศไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไข 2) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดทำหลักสูตร แผนการเรียนรู้ และมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และหลากหลาย ฝึกทักษะกระบวนการคิด การแก้ไขปัญหา ปลูกฝ๎งคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3) ด้านการวัดและการประเมินผล กำหนด ระเบียบ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการวัดผล และประเมินผลใช้วิธีการวัดผลและประเมินผลที่หลากหลาย ตรวจสอบเครื่องมือวัดผลและประเมินผลให้มี คุณภาพ วัดและประเมินผลตามสภาพจริง กำกับ ติดตามการวัดและประเมินผล นำผลการวัดและประเมินผลไปใช้</p><p> </p><p><strong>The Guideline Development of Academic Administration in Learning Process Development for School in Mahasarakham Province Administration Organization</strong></p><p>The research aimed to : 1) investigate the complement and administration indicators ; 2) study the state and desirable state and 3) develop management guideline of academic administration in learning process development for school in Mahasarakham Province Administration Organization. The research was conducted associated with three phases. The first phase was to investigate the components and indicators of academic administration of learning process development. There were five respondents to provide the information by an assessment form. In the second phase, we studied current situation and desirable situation of academic administration in terms of learning process development for the schools. Groups of the study were 214 which sampled from education executives and teachers. The third phase was conducted to find a guideline for academic administration in learning process development for the schools. In this phase, nine respondents were interviewed, sampled from education executives, school officers, and teachers. Descriptive statistics used in this research were mainly percentage, average, and standard deviation.</p><p><strong>The research findings were as follows :</strong></p><p>1. Components and indicators of academic administration of learning process development for the schools, overall, a reasonable satisfactory was at level in the most. The sort was averaged descending three consecutive priorities including 1) measurement and evaluation, 2) learning activities, 3) teacher Promotion and development, 4) participation in learning activities and extension and development of materials and learning resources.</p><p>2. The current status of academic administration in learning process development for school in Mahasarakham Province Administration Organization. All in all, the satisfaction was moderate level. The sort was averaged descending three consecutive priorities including the promotion and development of media and resources, participation in learning activities and measurement and evaluation, respectively. Overall, the satisfaction level at the most, On the other hand if focus on the different aspects found that the most level. The sort of three significant priorities were provision learning activities, teacher promotion and development and measurement and evaluation. </p><p>3. The guideline development of academic administration in Learning Process Development for School in Mahasarakham Province Administration Organization are : teacher promotion and development with; regular training teacher and encouraging teachers to learn by focusing on learners, encouraging teachers to do research consistently, considering teachers for teaching may relate with their qualification of ability and major fields, assessors to evaluate learning activities and conducting supervisor’s comments to improve their skills. learning activities; preparation both of school curriculum and local courses and the course should be continual improvement, preparation of lesson plans and instructional model and it should be continuously ameliorated, evaluation individual learners, creation learning activities which were significantly focusing on learners, organized varieties of learning, construction learning activities which should support of thinking process and the way to solve problems and constitution learning activities which were aid to nurture moral, ethical and desirable characteristics. Measurement and evaluation ; determination of practical regulation on educational measurement and evaluation, utilization various ways of assessment and evaluation, inspection tools to examine and evaluate the standard quality, measurement and evaluation with the real situation, monitoring on measurement and evaluation and comments application either from measurement and evaluation process to improve potential learning activities.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63706การเปรียบเทียบความสามารถการอ่าน การเขียนภาษาไทย และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานและการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือ2016-08-03T15:42:52+07:00วันวิสาข์ อกอุ่นbuajead@gmail.comอภิญวัฒน์ โพธิ์สานbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานและ การเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือ วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) ศึกษา ดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานและการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือ วิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 3) เปรียบเทียบความสามารถการอ่าน การเขียนภาษาไทย และการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานและการเรียนรู้ ด้วยกลุ่มร่วมมือ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอนุบาลจันทรัตน์ อำเภอสหัสขันธ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์เขต 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 52 คน จากห้องเรียน 2 ห้อง ๆ ละ 26 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) และจับสลาก กลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 เพื่อจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน และการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานและแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยกลุ่มร่วมมือ รูปแบบละ 20 แผน ๆ ละ 1 ชั่วโมง รวม 20 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน ภาษาไทย ชนิดอ่านคำ จำนวน 15 ข้อ และอ่านประโยค จำนวน 5 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง .33 – .61 และมีค่าความเชื่อมั่นในการให้คะแนนรายข้อของการอ่านประโยค จำนวน 5 ประโยค (rxy) ตั้งแต่ .37 – .72 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนภาษาไทย ประกอบด้วย การเขียนคำ จำนวน 10 ข้อ เขียนประโยค จำนวน 5 ข้อ และเขียนบรรยายภาพ จำนวน 5 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (B) อยู่ระหว่าง .33-.61 แบบทดสอบการเขียนประโยคมีค่าความเชื่อมั่นการให้คะแนน (rxy) อยู่ระหว่าง .35-.63 และการเขียนบรรยาย ภาพมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่า .37-.62 4) แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ ชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ มีค่าความยาก ตั้งแต่ .33 ถึง .67 และค่าอำนาจจำแนก ตั้งแต่ .31 ถึง .73 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (KR-20) เท่ากับ .76 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ สมมุติฐานโดยใช้สถิติ F-test (One -way MANOVA) ผลวิจัยปรากฏดังนี้ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดสมองเป็นฐานและการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือมีประสิทธิภาพเท่ากับ 75.77/76.24 และ 72.95/76.11 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2) ดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน และการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือ มีค่าเท่ากับ .5374 และ .5369 แสดงว่านักเรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนคิดเป็น ร้อยละ 53.74 และ 53.69 ตามลำดับ และ 3) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมอง เป็นฐานและจัดการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือมีความสามารถในการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ไม่แตกต่างกัน<p> </p><strong>Comparisons of Abilities in Reading, Writing for Thai Language and Analytical Thinking of Prathomsuksa 1 Students Between Who Learned Using Brain-Based Learning and Cooperative Learning Approaches</strong><p>The purposes of this study were: 1) to develop plans for learning management based on Brain-Based Learning and cooperative Learning approaches in Thai Language of Prathomsuksa 1 level with the required efficiency of 75/75, 2) to find out effectiveness indices of those two plans for learning management, 3) to compare reading, writing abilities and analytical thinking between the students who learned based on those two different approaches. The sample used in this study consisted of 52 students from two classes of Prathomsuksa 1 level, attending from Jantharat Kindergarten school, Sahatsakhant District, under the Office of Kalasin Primary Educational Service Area Zone 1, in the academic year of 2014, which obtained using the cluster random sampling technique and random assigned for 26 students in each group using Brain-Based Learning approach and cooperative learning approach. The instruments used in the study were : 1) lesson plans for two types of learning management activities using Brain-Based Learning approach and cooperative learning approach in Thai language, taken for overall 20 hours with 20 plans in each approach; 2) test of reading ability were composed of 15-items for words reading, and 5-items for sentences reading, with the discriminating power of .33 – .61 and a reliability of scoring in reading assessment for 5 item test of .37 – .72 3) test of writing abilities were composed of 10 - items test for words writing, with discriminating power ranging .33-.61, 5-items test for sentences writing with a reliability of scoring assessing between .35-.63, and 5-items test for picture narrative writing, with a reliability of scoring assessing between .37-.62, and 4) a 20-items test of analytical thinking ability test with the difficulty ranging .33 - .67, the discriminating power ranging .31 - .73, and a reliability of .76. The statistics used for analyzing data were percentage, mean, standard deviation, and F-test (One-way MANOVA) was employed for testing the hypothesis. The results of the study were as follows : 1) The learning management plans using Brain-Based Learning approach and cooperative learning approach in Thai language for Prathomsuksa 1 level had efficiencies of 75.77/76.24 and 72.95/76.11 respectively. 2) The learning management plans using Brain- Based Learning approach and cooperative learning approach in Thai language for Prathomsuksa 1 level had the effectiveness indices of .5374 and .5369 respectively. Thus showed that the students who learned based on those of two approaches, had learning progress of 53.74 and 53.69 percents respectively. and 3) The students who learned using Brain-Based Learning and cooperative learning approaches in Thai language for Prathomsuksa 1 level, did not show difference of abilities in reading, writing for Thai language and analytical thinking.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63947รูปแบบการเจรจาต่อรองของผู้บริหารโรงเรียนสาธิต2016-08-03T15:42:52+07:00สุคนธ์ มณีรัตน์buajead@gmail.comนพดล เจนอักษรbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) องค์ประกอบการเจรจาต่อรองของผู้บริหารโรงเรียนสาธิต 2) รูปแบบการเจรจาต่อรองของผู้บริหารโรงเรียนสาธิต และ 3) ผลการยืนยันรูปแบบการเจรจาต่อรองของผู้บริหาร โรงเรียนสาธิตตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ วิธีการดำเนินการวิจัย มี 3 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษา ค้นคว้าตัวแปรเกี่ยวกับการเจรจาต่อรองของผู้บริหารโรงเรียนสาธิต ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาเครื่องมือและจัดเก็บ ข้อมูล และขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลและการยืนยันความเหมาะสมขององค์ประกอบและรูปแบบที่ได้ กลุ่มตัวอย่างและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแต่ละขั้นตอนประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง 2) กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ของโรงเรียนสาธิต จำนวน 230 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามความคิดเห็น เกี่ยวกับการเจรจาต่อรองของผู้บริหารโรงเรียนสาธิต จำนวน 120 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ เท่ากับ .960 3) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ใช้แบบสอบถามความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ และการวิเคราะห์เนื้อหา<p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. องค์ประกอบของการเจรจาต่อรองของผู้บริหารโรงเรียนสาธิต ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง 2) การวางแผนการเจรจาต่อรอง 3) การติดต่อสื่อสาร 4) บุคลิกภาพของ ผู้เจรจาต่อรอง 5) ความสัมพันธ์ในการเจรจาต่อรอง และ 6) ประสิทธิผลของการเจรจาต่อรอง</p><p>2. รูปแบบเจรจาต่อรองของผู้บริหารโรงเรียนสาธิตเป็นความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพหุองค์ประกอบ ที่มีความสัมพันธ์กัน โดยที่ กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง และการวางแผนการเจรจาต่อรองมีอิทธิพลทางตรงต่อ ประสิทธิผลของการเจรจาต่อรอง นอกจากนี้ ความสัมพันธ์ในการเจรจาต่อรอง การติดต่อสื่อสาร และบุคลิกภาพ ของผู้เจรจาต่อรอง มีอิทธิพลทางอ้อมต่อประสิทธิผลการเจรจาต่อรอง</p><p>3. ผลการยืนยันรูปแบบ ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นสอดคล้องกันว่า รูปแบบการเจรจาต่อรอง ของผู้บริหารโรงเรียนสาธิต มีความเหมาะสม มีความเป็นไปได้ เป็นประโยชน์และถูกต้องครอบคลุม สอดคล้อง กับกรอบแนวคิดทฤษฎีการวิจัย</p><p> </p><p><strong>A Professional Negotiation Model of Demonstration School Administrators</strong></p><p>The purposes of this research were to determine: the professional negotiation factors of demonstration school administrators, the negotiation model of the demonstration school administrators, and the confirmation of the negotiation model of the demonstration school administrators by experts. The research was conducted in three steps. The first step was analyzing the factors related to the negotiation of the demonstration school administrators. The second step was to develop the research instruments and then used them to collect data. The final step was analyzing the data and confirming the suitability of the negotiation factors and the model. The samples and instruments for this study were the data from nine experts collected by semi-structured interview and the data from the school director, vice director, and head of departments to the tally of 230 respondents were collected by opinionnaire. And other seven experts were asked for their opinions. The statistics used in this research included frequency, percentage, arithmetic means, standard deviation, exploratory factor analysis, path analysis and content analysis.</p><p><strong>The research finding were as follow:</strong></p><p>1. The negotiation components of the demonstration school administrators consisted of negotiation strategies, negotiation planning, communication, characteristics of the negotiator, relationship in negotiation and the effectiveness of the negotiation.</p><p>2. The model of the negotiation of the demonstration school administrators was a causal relation of multiple factors consisted of the six components mentioned earlier. The factors of negotiation strategies and negotiation planning were directly affected to the effectiveness of the negotiation. Beside, the factors of communication, character of the negotiator, and relationship in negotiation had also the indirect effect on the effectiveness of the negotiation.</p><p>3. The result of the confirmation of the model of the professional negotiation components of the demonstration school administrators was propriety, feasibility, utility, and accuracy standards, which corresponded to the theoretical framework of this research.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63948แนวทางในการเผยแพร่พุทธศาสนาในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศเนเธอร์แลนด์2016-08-03T15:42:52+07:00พระมหาอำนวย มีราคาbuajead@gmail.comการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อรวบรวม แนวคิดและแนวปฏิบัติในการเผยแผ่พุทธศาสนาในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศเนเธอร์แลนด์ 2) เพื่อประมวล ปัญหาอุปสรรคในการเผยแผ่พุทธศาสนาในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศเนเธอร์แลนด์ 3) เพื่อนำเสนอแนวทาง ในการเผยแผ่พุทธศาสนาในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศเนเธอร์แลนด์<p>ผู้ให้ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยเป็นคณะสงฆ์พระธรรมทูตจากวัดพุทธาราม 5 รูป วัดพุทธวิหาร 4 รูป วัดพุทธบารมี 5 รูป วัดธรรมกาย 7 รูป และกลุ่มประชาชนทั่วไป 15 คน รวม 37 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ใน การรวบรวมข้อมูลได้แก่ 1) แบบบันทึกวิเคราะห์เอกสาร 2) แบบสัมภาษณ์ 3) แบบสังเกต การวิจัยในชั้นนี้ มีขั้นตอนการวิจัย ดังนี้ 1) ศึกษาเอกสารคู่มือตำราทางวิชาที่เกี่ยวกับการสร้างแบบบันทึกวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต 2) สร้างแบบบันทึกวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต 3) นำเสนอ แบบบันทึกวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต</p><p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. แนวคิด วิธีการและเปูาหมายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นไปตามหลักพุทธโอวาท แสดงธรรม ให้เหมาะสมกาลเทศะ มีเหตุผล แสดงธรรมด้วยจิตเมตตา โดยมุ่งประโยชน์แก่ผู้ฟ๎ง ไม่แสดงธรรมเพราะเห็น แก่ลาภสักการะ เพราะเปูาหมายการเผยแผ่พระพุทธศาสนานั้น เพื่อประโยชน์ เกื้อกูล ความสุข แก่บุคคลทั้งที่เป็น ชาวพุทธและมิใช่ชาวพุทธ โดยมุ่งที่จะพัฒนาศักยภาพของบุคคลในการดำเนินชีวิตได้ด้วยตนเอง ใช้หลักธรรม คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเป็นแนวทางในการชี้นำบุคคลให้ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท เพราะการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในต่างประเทศนั้นต้องอาศัยการจัดกิจกรรมภายในวัดเช่น การจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมในวันสำคัญ ทางพระพุทธศาสนาและวันสำคัญของชาติ การเทศน์ การปาฐกถา เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจและกิจกรรมของชาวพุทธ ในต่างประเทศ</p><p>2. ปัญหาอุปสรรคในการเผยแผ่พุทธศาสนาในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศเนเธอร์แลนด์ พระสงฆ์ยังไม่เข้าใจภาษาและวัฒนธรรมของประเทศที่ตนไปเผยแผ่ดีพอ ทำให้การสื่อสารกับคนในประเทศนั้น ได้ไม่ดีเท่าที่ควร ด้านองค์กรสงฆ์ที่มีส่วนในการดูแลพระสงฆ์ยังก็ไม่เข้มแข็งพอ แม้ปัจจุบันจะมีหลายหน่วยงาน ที่กำกับดูแลโดยตรงแต่ก็ยังครอบคลุมได้ไม่ทั่วถึง แม้จะมีสำนักฝึกอบรมพระธรรมทูตก็ทำหน้าอีกอย่าง อบรม พระธรรมทูตแล้วส่วนการคัดเลือกว่าพระสงฆ์รูปใดจะได้เดินทางไปประเทศไหนนั้นเป็นอีกหน่วยงานหนึ่ง ขอวีซ่าเข้าประเทศ บางประเทศก็ยากมากและให้เวลาในการพำนักในประเทศนั้น ๆ น้อยทำให้เกิดความไม่ต่อเนื่อง ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา</p><p>3. แนวทางในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา : กรณีศึกษาประเทศเนเธอร์แลนด์ ควรมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ด้านการบริหาร ควรมีการฝึกอบรมพระสงฆ์ให้มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษา เพื่อพัฒนาบุคลากร ด้านงานเผยแผ่พระศาสนาในต่างประเทศ สร้างพลังศรัทธาให้เกิดมีในการปฏิบัติเพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรม ในการเดินทางไปเผยแผ่ การพิจารณาพระสงฆ์ที่มีความเหมาะสม ทำงานให้เป็นทีมเพื่อให้เกิดความสุขด้วยการใช้ หลักธรรมทางพุทธศาสนาในการดำเนินชีวิตได้</p><p> </p><p><strong>Guidelines for the Dissemination of Buddhism in the Country : Case Study of Netherland</strong></p><p>The research was a qualitative research has the purposes of this research were : 1) To study the strategy to publish Buddhism abroad : Case study of the Netherland 2) To gather ideas, the way of practice, a problem and an obstacle for present the strategy to publish Buddhism abroad : a case study of the Netherland 3) For present the trend to publish Buddhism abroad : a case study of the Netherland.</p><p>To interviews inquire and observations. The research population weres: the SanghaDhammadutaBhikkhus from WatBuddharam 5 monks, Wat Buddha Vihara 5 monks, Wat Buddha Paramee 5 monks. A total of 37 person. Research tools in used for data collection were: 1) To Record Analyses a Document. 2) interview 3) observation. Research in this process were as follows : 1) study the documentation treatise on the subject about building a record, analyze documents, interview and observation, 2) create a record, analyze documents, interview and observation 3) presence analyze documents, interview and observation.</p><p><strong>The results found that:</strong></p><p>1. The concepts, methods and goals to publish Buddhism according to the doctrine of Buddha teaching. The sermon the appropriate circumstance realistic sermon with compassion. The benefit to the audience Do not sermon for fortune worship, because the goal to publish Buddhism that; for benefits to both help, happiness for Buddhists people and non-Buddhists. The aims to develop the latency of individuals to live on their own. Use the doctrine of the Buddha as a guide to direct people in as a precaution. Because the publish Buddhism abroad must be that activities within the monastery such as, activities, practice meditation on Buddhistsholy days and the national holydays. The sermon, speech to the spiritual center of Buddhist activities abroad.</p><p>2. The obstacle problems and the Solutions to publish Buddhism abroad : The case study of the Netherland. The Sangha (Buddhists monks) did not understand the language and culture of their country go to teaching. Makes communication with people in that country not as well as it should. The Sangha organization that is involved to take care was not strong of the Sangha. Even today there are many agency that directly supervision, but still not thoroughly covered. Although have the training Institute for DhammadutaBhikkhus going Abroad to do more. The training for DhammadutaBhikkhusand the selection that who a monk will be traveling to a country where there is another agency. Visa arrival some countries even more difficult and take more time to stay in that country. Less causes not connected to publish Buddhism.</p><p>3. The process strategic approach to Buddhism. Case Study : The Netherland be supposed study transform administrative. There should be supposed training the Sangha to have the ability to using language, to personnel development mission religion abroad. take to the believes power into practice to become concrete. On a trip to exposure judgment the monks are appropriate to team working.to achieve happiness with the doctrine of Buddhism in the way of life.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63949รูปแบบการพัฒนาครูเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการส่งเสริมการอ่านของนักเรียน โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองบุรีรัมย์2016-08-03T15:50:44+07:00สุภาพ ผู้รุ่งเรืองbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการพัฒนาครูเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการส่งเสริมการอ่านของนักเรียนโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ และศึกษารูปแบบการพัฒนาครูเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการส่งเสริมการอ่านของนักเรียนโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ มีขั้นตอนการวิจัย 2 ระยะ คือ 1) การศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการพัฒนาครู ทำการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้อำนวยการและครูโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จำนวน 9 คน และ 2) การศึกษารูปแบบการพัฒนาครูเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการส่งเสริมการอ่านของนักเรียน ทำการสอบถามความคิดเห็นผู้บริหารและครูโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จำนวน 132 คน<p>ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการพัฒนาครู พบว่า มีการพัฒนาครูเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการส่งเสริมการอ่านของนักเรียน จำนวน 16 ด้าน และมีความต้องการพัฒนาครูเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการส่งเสริมการอ่านของนักเรียน จำนวน 16 ด้าน และผลการศึกษารูปแบบการพัฒนาครูเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการส่งเสริมการอ่านของนักเรียน พบว่า โดยภาพรวมของการพัฒนาครูเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการส่งเสริมการอ่านของนักเรียน มีการปฏิบัติในระดับปานกลาง และโดยภาพรวมของความต้องการพัฒนาครูเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการส่งเสริมการอ่านของนักเรียน มีความต้องการในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีความต้องการพัฒนาครูเกี่ยวกับการบูรณาการกิจกรรมส่งเสริมการอ่านของนักเรียนสอดคล้องกับเนื้อหาของกลุ่มสาระ เป็นลำดับแรก</p><p> </p><p><strong>The Teacher Development Model to Improve Effectiveness in Reading Promotion of School Student under Buriram Municipality</strong></p><p>The objectives of the research were to study the current situation and teacher development needs to improve effectiveness in reading promotion of school student under Buriram Municipality, and to study the teacher development model to improve effectiveness in reading promotion of school student under Buriram Municipality. The study was divided into two steps:1) to study the current situation and teacher development needs through documentary study and in-depth interview with school director and teacher amount of 9 persons under Buriram Municipality and 2) to study the teacher development model by using a questionnaire with one hundred and thirty two administrators and teachers under Buriram Municipality.</p><p>The results of the study revealed the current situation and teacher development needs found that there was the improvement of effectiveness in reading promotion of school student amount of 16 aspects, and to study the teacher development model to improve effectiveness in reading promotion of school student found that the whole improvement of effectiveness in reading promotion of school student was moderate level and the whole of teacher development needs in order to improve effectiveness in reading promotion of school student was the most and each aspect found that teacher development needs an Integrated activity to improve effectiveness in reading promotion of school student respectively.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63950การพัฒนาแบบประเมินตนเองด้านคุณลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 42016-08-03T15:59:54+07:00อรทัย ธารีเกษbuajead@gmail.comมารุต พัฒผลbuajead@gmail.comวิชัย วงษ์ใหญ่buajead@gmail.comศรีสมร พุ่มสะอาดbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและองค์ประกอบของคุณลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา และเพื่อสร้างแบบประเมินตนเองด้านคุณลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาและโครงสร้างโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 คน แล้วรายงานค่า IOC เท่ากับ .80-1.00 และตรวจสอบหาค่าความเชื่อมั่นโดยการทดลองนำร่อง ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาตามวิธีของคอนบาคเท่ากับ .87 แล้วปรับปรุงเครื่องมือ คือ แบบประเมินตนเองด้านคุณลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้ เพื่อนำไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 48 คน แล้ววิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาตามวิธีของคอนบาค พบว่า มีค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมินทั้งฉบับเท่ากับ .89 เป็นการตรวจสอบยืนยันว่าแบบประเมินตนเองที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพจึงนำผลการดำเนินงานมาวิเคราะห์ความหมายและองค์ประกอบคุณลักษณะของบุคคลแห่งการเรียนรู้ และพัฒนาแบบประเมินตนเองด้านคุณลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาฉบับสมบูรณ์<p>ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา หมายถึง พฤติกรรมของผู้เรียนทางด้านบุคลิกภาพและทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองที่สะท้อนถึง ความใฝ่เรียนใฝ่รู้ รักการค้นคว้า มีวินัยในตนเอง มีทักษะการทำงาน และทักษะการรู้เท่าทันสื่ออินเตอร์เน็ต 2) องค์ประกอบของคุณลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้มี 2 ด้าน คือ 2.1) ด้านบุคลิกภาพ ประกอบด้วย 2.1.1) ความใฝ่เรียนใฝ่รู้ ได้แก่ กระตือรือร้น สนุกกับการเรียนรู้ อยากรู้อยากเห็น และสนใจเรียนรู้สิ่งใหม่อยู่เสมอ และ 2.1.2) รักการค้นคว้า ได้แก่ การค้นคว้าหาความรู้ และรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผล 2.2) ด้านทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประกอบด้วย 2.2.1) มีวินัยในตนเอง ได้แก่ ความพยายามนำตนเองสู่การเรียนรู้ รวบรวม จัดเก็บสิ่งที่เรียนรู้ให้เป็นระบบ นำความรู้ไปปรับปรุงและพัฒนางานในหน้าที่ 2.2.2) ทักษะการทำงาน ได้แก่ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยแบ่งป๎นความคิด ยอมรับความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและปรับใช้ในการทำงานรวมทั้งการใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และ 2.2.3) ทักษะการรู้เท่าทันสื่ออินเตอร์เน็ต ได้แก่ การรู้จักแยกแยะ และคัดเลือกข้อมูลที่เหมาะสมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง 3) แบบประเมินตนเองด้านคุณลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4 เป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ แบ่งออกเป็นข้อคำถาม 3.1) ด้านบุคลิกภาพ ประกอบด้วยความใฝ่รู้ใฝ่เรียน 6 ข้อ รักการค้นคว้า 6 ข้อ 3.2) ด้านทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประกอบด้วยวินัยในตนเอง 6 ข้อ ทักษะการทำงาน 6 ข้อ และทักษะการรู้เท่าทันสื่ออินเตอร์เน็ต 6 ข้อ</p><p> </p><p><strong>Developing a Self Assessment of Learner Person Characteristics for Primary 4 Students</strong></p><p>The purposes of research were to study the meaning of the characteristics and composition of the learner persons for primary students in order to create a self-assessment of the learner persons for primary 4 students. The study analyzed synthetic theory and related research and verified quality by 5 educational experts and a pilot group: IOC equal to 0.80 to 1.00. The coefficient alpha was 0.87. The self-assessment was conducted with a sample population of 48 students at primary 4 level were analyzed by cronbach alpha coefficient. The validity was 0.89, thus bringing performance to analyze the meaning and characteristics of the learner persons for primary students. The results were corrected and improve afterwards in accordance to complete the self-assessment of the learner person characteristics for primary 4 students.</p><p>The results of the research revealed that 1) The person characteristics for primary students, referring to the personality and behavior of the students learning skills, reflection about the enthusiastic and studious person, Self-discipline, working skills, Internet literacy skills. 2) The Learner Person Characteristics for primary students defined in the research comprised of two key elements 2.1) The personality consists of 2.1.1) Enthusiasm person; learning with fun, curious and always interested in learning new things and 2.1.2) Studious person; love of knowledge and research, know the questions to find out why and 2.2) The self-learning skills consists of 2.2.1) Self-discipline; the effort put into learning their collection on what they learned to the system, the knowledge to improve and develop the duties 2.2.2) Working skills; the ability to collaborate with others by sharing ideas, accept the idea, learning together, the knowledge to use in daily life and in work. and using the information to develop their skills continuously 2.2.3) Internet literacy skills; recognize; selecting appropriate information to good use in their own development 3) The self-assessment of the learner person characteristics for primary 4 students is about the fifth level of 30 items divided into question. 3.1) The personality consists of 6 enthusiastic person and 6 studious person 3.2), The self-learning skills consists of 6 self-discipline, 6 working skills and 6 internet literacy skills.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63952พฤติกรรมผู้นำมืออาชีพตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 292016-08-03T16:06:44+07:00สังคม กุลสุวรรณbuajead@gmail.comอารี หลวงนาbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้นำมืออาชีพตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 2) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมผู้นำมืออาชีพตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 จำแนกตามตำแหน่ง ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดสถานศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะพฤติกรรมผู้นำมืออาชีพตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29<p>กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัย คือ ผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษาที่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วน จำนวน 81 โรงเรียน จำนวน 351 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 66 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t และการทดสอบค่า F</p><p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. ผลการศึกษาพฤติกรรมผู้นำมืออาชีพตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก</p><p>2. ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมผู้นำมืออาชีพ จำแนกตาม ตำแหน่ง โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตาม ประสบการณ์ในการทำงานและขนาดของสถานศึกษา โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p><p>3. ข้อเสนอแนะพฤติกรรมผู้นำมืออาชีพตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู ปรากฏดังนี้</p><p>3.1 การเป็นผู้นำที่มีคุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหารต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต บริหารงานด้วยความโปร่งใส และควรประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาและบุคคลทั่วไป</p><p>3.2. การเป็นผู้นำการจัดระบบ ผู้บริหารควรมีวิสัยทัศน์กว้างไกล นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการจัดระบบ ควรมีความรู้ความสามารถในการจัดระบบ การวางแผน การวินิจฉัยสั่งงานมีการวางแผนกลยุทธ์ และนำสารสนเทศมาใช้ในการจัดระบบ</p><p>3.3 การเป็นผู้นำด้านวิชาการ ผู้บริหารควรมีความรู้ในเรื่องนโยบายการศึกษาชาติจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การจัดทำหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผลการจบหลักสูตรมีวิสัยทัศน์กว้างไกล ใช้เทคโนโลยีมาจัดการศึกษา และส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้พัฒนาตนเองและจัดทำผลงานทางวิชาการเพื่อการเลื่อนวิทยฐานะ</p><p>3.4 การเป็นผู้นำด้านบริหารจัดการ ผู้บริหารต้องกล้าคิด กล้าตัดสินใจ กล้าปรับเปลี่ยนระบบการบริหารจัดการให้เข้ากับยุคสมัย ใช้การบริหารงานแบบการมีส่วนร่วม มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานและมีการกระจายอำนาจในการบริหารงาน</p><p>3.5 การเป็นผู้นำด้านสังคมและชุมชน ผู้บริหารควรมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความเป็นกันเองไม่ถือตัว สามารถเข้ากับชุมชนได้เป็นอย่างดี และประสานงานกับชุมชน เพื่อนำชุมชนมามีส่วนร่วมในการพัฒนาหน่วยงาน</p><p>3.6 ด้านการเป็นผู้นำการพัฒนาตนเองในเชิงบริหาร ผู้บริหารควรมีการอบรม ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่าง ๆ อยู่เสมอ ศึกษาดูงานและนำมาปรับใช้ในการการพัฒนางานมีวิสัยทัศน์ในการบริหาร มองการณ์ไกล มีการบูรณาการปรับเปลี่ยนตนเองให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการบริหารนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการบริหาร เป็นผู้นำในการพัฒนาตนเอง เพิ่มพูนความรู้ประสบการณ์อยู่ตลอดเวลา</p><p> </p><p><strong>The Opinion of the School Administrators and the Teachers Concerning a Professional Leader’s Behavior under the Secondary Educational Service Area 29</strong></p><p>The objectives of the research were to study and compare the opinion of the school administrators and the teachers concerning a professional leader’s behavior under the Secondary Educational Service Area 29 as classified by positions and working experiences and school sizes and to study the recommendations on the leader’s behavior as perceived by the school administrators and the teachers under the Secondary Educational Service Area 29. The samples used in the research were 351 school administrators and teachers teaching in 81 school under the Secondary Educational Service Area 29, derived by a stratified random sampling. The research instrument was a five rating scale questionnaire of 66 items with a confidence value equivalent to .99. Statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test.</p><p><strong>The research findings were as follows:</strong></p><p>1. The results of a study of a professional leader’s behavior as perceived by the school administrators and the teachers were at a high level.</p><p>2. The results of a comparison of a behavior of a leader as classified by positions were not different. The results as classified by the working experiences and the school sizes were different with a statistical significance of .05.</p><p>3. The following were the recommendations on the professional leader’s behavior.</p><p>3.1 The leader has to be virtuous, ethical, honest and transparent. He or she should be a good role model for the subordinates and people in general.</p><p>3.2 The leader has to be far-sighted, able to use modern technology in organizing the system, planning, making a strategy and systematizing information.</p><p>3.3 The leader should be well learned in the national educational policy, the curricula, the objectives, the learning activities, measurement and evaluation, application of educational technology and support for the teachers.</p><p>3.4 The leader has to be decisive to change the management system and coordinate with the community to engage the community members in the development.</p><p>3.5 The leader must have a good human relation, be humble and polite, able to work with the community.</p><p>3.6 The leader has to have a regular training and additional learning from different sources. The leader has to be far-sighted and integrate himself with the surrounding situations and make himself capable of learning new things.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63955การมีส่วนร่วมการจัดการศึกษาของชุมชน กรณีศึกษา : โรงเรียนบ้านเหมือดขาว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 12016-08-03T16:12:13+07:00กนกอร บุญกว้างbuajead@gmail.comจิณณวัตร ปะโคทังbuajead@gmail.comการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของชุมชนบ้านเหมือดขาวอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร และศึกษาเงื่อนไขการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานมีกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหาร 1 คน ผู้ปกครองนักเรียน 16 คน นักเรียน 6 คน คณะครู9 คน ผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 คน และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 9 คน รวม 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ ซึ่งแบ่งเป็น 4 ชุด คือ ชุดที่ 1 สำหรับผู้บริหาร ชุดที่ 2 สำหรับผู้ปกครองนักเรียน ผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ชุดที่ 3 สำหรับคณะครูชุดที่ 4 สำหรับนักเรียน การวิเคราะห์ทางสถิติโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การมีส่วนร่วมการจัดการศึกษาของชุมชน ของโรงเรียนบ้านเหมือดขาว มี 6 แนวทาง คือ 1) การมีส่วนร่วมในการระดมความคิดพบว่า โรงเรียนกับชุมชนการร่วมคิดค้นและวิเคราะห์ปัญหาร่วมกันในลักษณะของการร่วมคิด บนพื้นฐานความศรัทธาว่า ทุกคนที่เข้ามามีส่วนร่วมนั้นมีศักยภาพในการพัฒนาโรงเรียนร่วมกัน 2) การมีส่วนร่วมในการร่วมวางแผน พบว่า โรงเรียนกับชุมชนนำสิ่งที่ร่วมกันคิดมากำหนดเป็นแผนร่วมกันด้วยการระดมทรัพยากรจากทุกฝ่าย 3) การมีส่วนร่วมในการร่วมกันลงมือทำ พบว่าโรงเรียนกับชุมชนนำแผนงานที่ได้แบ่งงานกันรับผิดชอบ เพื่อให้เป็นไปตามแผนหรือเป้าหมายที่ร่วมกันวางไว้ 4) การมีส่วนร่วมในการการร่วมกันติดตามและประเมินผล พบว่า โรงเรียนกับชุมชนร่วมกันติดตามผลงานที่ทำหลังจากดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว เพื่อปรับปรุงข้อบกพร่องและหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน 5) การมีส่วนร่วมในการร่วมกันปรับปรุงแก้ไข พบว่าเมื่อมีปัญหาใด ๆ เกิดขึ้นโรงเรียนและชุมชนจะใช้โอกาสในการประชุมผู้ปกครองนักเรียนเพื่อพูดคุยกันถึงปัญหา รวมถึงช่วยกันหาแนวทางแก้ไข 6) การมีส่วนร่วมในการร่วมกันรับผลประโยชน์ร่วมกันและชื่นชมยินดี พบว่า ส่วนมากเป็นผลประโยชน์ทางด้านจิตใจ มากกว่าจะเป็นผลตอบแทนทางด้านวัตถุสิ่งของจากโรงเรียนและชุมชน 2. เงื่อนไขการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) เงื่อนไขการมีส่วนร่วมมากในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้นำชุมชนช่วยเหลือ การมีการรวมกลุ่มกันเองในชุมชนหลายกลุ่ม กลุ่มเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนและสนับสนุนอย่างจริง คณะครูมีความสามัคคีและร่วมกันพัฒนาอย่างจริงจัง ผู้บริหารเป็นที่ยอมรับของคณะครูและชุมชน 2) เงื่อนไขการมีส่วนร่วมน้อยในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ คนในชุมชนขาดความรู้เรื่องการดำเนินงานของโรงเรียน เงื่อนไขเกี่ยวกับระเบียบราชการที่พบว่า ค่อนข้างจะล่าช้า<p> </p><strong>Participation of community education. Case Study: Ban Muadkhaw School Primary Education Area Office, Area 1 Yasothon</strong><p>This research aims to study the involvement of the community in education Muadkhaw Maha Chana Chai District of Yasothon and education conditions of community participation in basic education. Targets used in this study, 42 administrators 16 Parents, 6 students, 9 teachers, 1 people leading local government, and director of basic education in nine subjects used in research. interview. Statistical analysis by analyzing the results of the study found that Participation of community education has six guidelines. 1 participation in mobilizing community participation was found that the school's research and analysis of common problems in the form of complicity. Based on the belief that Everyone who took part had the potential to develop school together. 2. Participation in joint planning. Found that the school community came together to put something together with a plan to mobilize resources from third parties. 3. Participating in the joint action. The school with the community to plan the division of responsibility. To plan or goal to put together. 4. Participation in joint monitoring and evaluation. The school community works together to make the various activities in order to improve the shortcomings and seek solutions together. 5. Participation in the. Joint revision. Found that when a problem occurs and the school community to take the opportunity of meeting the parents to discuss the problem. To help find solutions. 6. Participation in the joint benefit sharing and the joy found that many psychological benefits. Rather than return the object from the school and community. For the participation of the community in the provision of basic education. The results showed that: 1. Condition of participation in the provision of basic education, including local government leaders and community leaders help. The bundles themselves in several community groups. Group network and support real parents. Faculty harmony and mutual development seriously. Management is recognized by teachers and community 2. Conditions are less involved in the provision of basic education in the community, including lack of knowledge about the operation of the school. Conditions relating to government regulation was found to be somewhat delayed.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/64178สภาพการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอุบลราชธานี2016-08-05T13:28:33+07:00นฤมล สังข์ปั้นbuajead@gmail.comจิณณวัตร ปะโคทังbuajead@gmail.comพงษ์ธร สิงห์พันธ์buajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครู จำแนกตามตำแหน่งและประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของข้าราชการครู ในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ข้าราชการครู ที่จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน จำนวน 244 คน โดยการสุ่มแบบชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วนและกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการสัมภาษณ์ จำนวน 20 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง โดยการวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูลเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 60 ข้อ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นจากการทดลองใช้ทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t และการทดสอบค่า F แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา<p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. สภาพการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู ในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดอุบลราชธานี โดยรวมพบว่า มีสภาพอยู่ในระดับ มาก</p><p>2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อสภาพการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของข้าราชการครู ในสังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอุบลราชธานี จำแนกตามประสบการณ์ จำแนกตามตำแหน่ง พบว่า มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน</p><p>3. แนวทางการพัฒนาการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของข้าราชการครูในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดอุบลราชธานี จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง สรุปได้ดังนี้ ด้านการบริหารงานวิชาการ ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการประเมินการใช้หลักสูตรเพื่อนำมาปรับปรุงการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และจัดให้มีการนิเทศภายใน โดยส่งเสริมให้ครูในสถานศึกษานิเทศซึ่งกันและกันอย่างสม่ำเสมอ ด้านการบริหารงานงบประมาณ สถานศึกษาควรมีการรายงานผลการดำเนินการตรวจสอบ ติดตามผลการใช้งบประมาณต่อคณะกรรมการสถานศึกษาและควรมีการประเมินแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของสถานศึกษาด้านการบริหารงานบุคลากร ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการติดตามการปฏิบัติงานของบุคลากรหลังจากที่ได้รับการพัฒนาและควรมีความยุติธรรมในการพิจารณาความดีความชอบ ให้บุคลากรในสถานศึกษา ด้านการบริหารงานทั่วไป ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับ เป้าหมายและทิศทางของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สนองความต้องการของชุมชน และผู้บริหารสถานศึกษา ควรมีการวางแผน จัดระบบการดำเนินงานของกลุ่มงานต่าง ๆ รวมทั้งงานสารบรรณอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นปัจจุบัน</p><p> </p><p><strong>Administrative States of the School Administrators under the Office of Non-formal and Informal Education in Ubon Ratchathani Province</strong></p><p>The research aimed to study the administrative states of the school administrators, to compare the opinion of the teachers as classified by their positions and working experiences and to examine the guidelines to develop an administration of the school administrators as perceived by the teachers under the Office of Non-formal and Informal Education in Ubon Ratchathani. The samples used in the research were 244 teachers obtained by a stratified sampling. The target group interviewed were 20 teachers purposely chosen. The research instrument were used in a data collection was a five rating scale questionnaire of 60 items with a total confidence value equivalent to .98. Statistics used were percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test.</p><p><strong>The research findings were as follows:</strong></p><p>1. The administrative states of the school administrators as perceived by the teachers in the study were found to be at a high degree.</p><p>2. In comparing the teachers’ opinion towards the administrative states according to their positions and experiences, it was found that an overall opinion was not different.</p><p>3. The following were the guidelines for the administration for the school administrators. As regards the academic affairs, the school administrators should evaluate a curriculum to improve a teaching and learning process in all units. There should be an internal supervision, that is, the teachers of a school should supervise one another. As for a budget administration, a report on operation and follow-up of the budget spending should be made. A strategic and operation plan should be evaluated. Given the personnel administration, the school administrators should supervise the performance of the personnel and they had to be fair and just to them. Concerning the general administration, the school administrators should have a plan for developing an educational quality in accordance with the targets and directions of the Office of Non-formal and Informal Education and in response to the community demands.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/64179การบริหารโรงเรียนตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 42016-08-05T13:38:30+07:00รัตนาภรณ์ ส่งเสริมbuajead@gmail.comสุวิมล โพธิ์กลิ่นbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นการบริหารโรงเรียนตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นการบริหารโรงเรียนตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 จำแนกตาม ขนาดของโรงเรียน และวุฒิการศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางในการพัฒนาบริหารโรงเรียนตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นข้าราชการครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 จำนวน 302 คน โดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครซี่และมอร์แกน แล้วจึงสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นจากนั้นจึงทำการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เปนแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะหข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย คาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ<p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. ครูมีความคิดเห็นต่อการบริหารโรงเรียนตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกดาน โดยหลักคุณธรรมอยู่ในลำดับแรกรองลงมาคือ หลักนิติธรรม หลักความรับผิดชอบหลักความโปร่งใส หลักความมีส่วนร่วม ส่วนหลักความคุ้มค่า อยู่ในลำดับสุดท้าย</p><p>2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นการบริหารโรงเรียนตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของโรงเรียนและวุฒิการศึกษา พบวา ในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน</p><p>3. ข้าราชการครูได้เสนอปัญหาและแนวทางการพัฒนาโรงเรียนตามหลักธรรมาภิบาล ดังนี้</p><p>3.1 ด้านหลักนิติธรรม บุคลากรยังไม่ทราบข้อบังคับ ระเบียบ และคำสั่งต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริหารงานเท่าที่ควร ผู้บริหารควรอบรมให้บุคลากรได้ทราบในข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่งต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริหารงานเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน</p><p>3.2 ด้านหลักคุณธรรม บุคลากรบางส่วนยังเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม ผู้บริหารควรสร้างทัศนคติด้านคุณธรรมและจริยธรรมให้เกิดขึ้นแก่บุคลากร ส่งเสริมให้บุคลากรเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน มีจิตสาธารณะ</p><p>3.3 ด้านหลักความโปร่งใส การบริหารงานไม่มีความชัดเจนในเรื่องของงบประมาณที่นำไปใช้ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารน้อย ผู้บริหารควรเปิดเผยการใช้จ่ายงบประมาณให้มีความชัดเจนและกระบวนการบริหารงานนั้นพร้อมที่จะตรวจสอบได้</p><p>3.4 ด้านหลักการมีส่วนร่วม การทำงานในบางเรื่องไม่ค่อยเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานเพื่อให้การบริหารงานมีความชัดเจนและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น</p><p>3.5 ด้านหลักความรับผิดชอบ บุคลากรบางส่วนปฏิบัติงานตามความรู้สึกของตนเองโดยไม่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ การปฏิบัติงานล่าช้าขาดความรับผิดชอบต่อหน่วยงาน ผู้บริหารควรสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรให้มีความรับผิดชอบและเอาใส่ต่อการทำงานอย่างเต็มที่</p><p>3.6 ด้านหลักความคุ้มค่า บุคลากรบางส่วนขาดจิตสำนึกต่อการใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างประหยัดและคุ้มค่า ผู้บริหารควรจัดสรรงบประมาณและส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าเกิดประโยชน์มากที่สุด</p><p> </p><p><strong>A School Administration according to the Good Governance of the School Administrators under Ubon Ratchathani Educational Service Area 4</strong></p><p>The research aimed to study and compare the opinion concerning the school administration according to the good governance of the school administrators under Ubon Ratchthani Educational Service Area 4 as classified by the school size and the educational qualification of the subjects, and to study the problems and guidelines in developing the schools according to the good governance.</p><p>The samples used in the research were 302 teachers who taught at the schools under Ubon Ratchathani Educational Service Area 4, derived by a stratified random sampling. The sample size was determined by Krejcie and Morgan’s table. The research questionnaire was a five-rating scale with a confidence value equivalent to .983. Statistics used were percentage, mean, standard deviation, t-test and one way variance analysis.</p><p><strong>The research findings were as follows:</strong></p><p>1. The opinion of the teachers in the study towards the school administration according to the good governance was in an agreement level. Considering individual aspects, it was found that all were in an agreement level. Top on the list were the principles of virtues, followed by the legality, accountability, transparency, participation, and worthiness.</p><p>2. By comparing the opinion on the school administration according to the good governance of the school administrators as classified by the school size and the educational qualification, it was found that there was no difference.</p><p>3. The following were the recommendations for the development according to the good governance.</p><p>3.1 Legality: the personnel apparently do not know the rules, regulations and orders on the administration. They should be trained and taught in these rules and regulations.</p><p>3.2 Virtues: some personnel prioritize their own interest before the common interest. They should be taught morality. In other words, they should be trained and taught to think otherwise.</p><p>3.3 Transparency : administration is not transparent regarding the budget spending. The administrators should be more open regarding the budget spending. They should be ready for an official inspection.</p><p>3.4 Participation: personnel were not allowed to fully participate in some works. For the work to be more efficient, participation should be allowed.</p><p>3.5 Accountability: some personnel performed according to their own feelings without feeling responsible for their duty. In addition, some were slow to conduct their given tasks and irresponsible for their respective agencies. They should be encouraged to be more responsible and devote themselves to the assigned tasks.</p><p>3.6 Worthiness: some personnel used the equipments and materials in a wasteful manner. The administrators should allocate a budget cleverly and encourage the personnel to use the resources to a maximum benefit.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/64180ความพึงพอใจที่มีต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 42016-08-05T13:46:03+07:00วราพร พันธ์โภคาbuajead@gmail.comสุวิมล โพธิ์กลิ่นbuajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความพึงพอใจที่มีต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาของข้าราชการครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 จำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ ประสบการณ์การทำงานและขนาดของโรงเรียน และเพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 450 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie and Morgan และใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นโดยการเทียบสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 50 ข้อ มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .92 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t และการทดสอบค่า F<p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. ข้าราชการครูมีความพึงพอใจต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก</p><p>2. ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจที่มีต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาของข้าราชการครู มีดังนี้</p><p>2.1 ข้าราชการครูที่มีตำแหน่งหน้าที่ต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน</p><p>2.2 ข้าราชการครูที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา โดยรวม ไม่แตกต่างกัน ในด้านการวางแผนอัตรากำลังครูและการกำหนดตำแหน่งด้านการสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการและด้านการออกจากราชการ ส่วนด้านวินัยและการรักษาวินัย มีความพึงพอใจแตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับกลุ่มผู้ที่มีประสบการณ์การทำงาน 10-15 ปี กับผู้มีประสบการณ์ทำงานมากกว่า 15 ปีขึ้นไป</p><p>2.3 ข้าราชการครูในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีความพึงพอใจต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ขณะที่ด้านการสรรหาและการบรรจุแต่งตั้งและด้านวินัยและการรักษาวินัยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนความพึงพอใจด้านการวางแผนอัตรากำลังครูและกำหนดตำแหน่งและด้านการออกจากราชการไม่แตกต่างกัน โดยที่ข้าราชการครูโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่มีความพึงพอใจ แตกต่างกัน ในด้านการสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการและข้าราชการครูในโรงเรียนแต่ละขนาดทั้งใหญ่ กลาง เล็ก มีความพึงพอใจแตกต่างกัน ในด้านวินัยและการรักษาวินัย</p><p>3. สรุปปัญหาการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา ได้แก่</p><p>3.1 สถานศึกษายังไม่มีการกำหนดอัตรากำลังให้ตรงตามความต้องการและควรสรรหาบรรจุแต่งตั้งให้ตรงตามความต้องการของวิชาเอกที่ขาดแคลนด้วยความยุติธรรม โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้</p><p>3.2 สถานศึกษายังไม่มีการพัฒนาข้าราชการครูให้มีวิทยฐานะที่สูงขึ้นและการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานตามภาระงานที่รับผิดชอบ</p><p>4. ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา</p><p>4.1 การเสริมสร้างขวัญและกำลังใจสำหรับครูบุคลากรในสถานศึกษาและสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน</p><p>4.2 ส่งเสริมให้ข้าราชการครูได้อบรมหาความรู้เพิ่มเติมและพัฒนาตนเอง สร้างแรงจูงใจอย่างต่อเนื่องเพื่อความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน</p><p>4.3 อบรมแนะนำให้ความรู้เพื่อพัฒนาข้าราชการครูเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบวินัยจรรยาบรรณที่พึงปฏิบัติอย่างเคร่งครัดรวมทั้งส่งเสริมเพื่อความรู้ทักษะเจตคติที่ดี และมีคุณธรรมจริยธรรม</p><p> </p><p><strong>Satisfaction Towards Personnel Administration of the Teachers under The office of Sisaket Primary Educational Service Area 4</strong></p><p>The research purpose were to study and compare the satisfaction towards the personnel administration of the teachers under the office of Sisaket Primary Educational Service Area 4, as classified by the positions, working experiences and the school size</p><p>The samples used in the research were 450 teachers in the academic year of 2013, and determined by Krejcie and Morgan’s table. They were obtained by a stratified random sampling. The research instrument was a five points rating-scale questionnaire of 50 items, width reliability of 0.92 Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test.</p><p><strong>The research findings were as follows:</strong></p><p>1. The satisfaction on personnel administration of the teachers in the study were at a high level both for as a whole and in each aspect.</p><p>2. Regarding the comparison of the satisfaction in each condition, the followings were found:</p><p>2.1 The teachers with different positions had not different satisfaction towards the personnel administration.</p><p>2.2 The teachers with different working experiences had not different satisfaction towards the personnel administration for the aspects of planning for personnels management and position amnmaement, recruitment and appointment, efficiency improving in performance and retirement However, they had different satisfaction in aspect of discipline and attending at the .05 level of significance, for the groups of The teachers with 10-15 years and those with more than 15 years of working experiences .</p><p>2.3 The teachers working in different sized schools had different satisfaction towards the personnel administration for as a whole aspect of enhancing performance efficiencies at the .05 level of significance. whereas for the aspects of recruitment and appointment, discipline and differences at .01 level of significance, which showed difference between medium size and large size school. And for in each size showed difference in aspects of discipline and discipline offending. But the teachers in each size school did not show difference of satisfaction in planning for personnel management and position arrangement.</p><p>3. Conclusions on the problems on the problems of personnel administration were ;</p><p>3.1 The schools had not provide manpowers suitable with needs and did not take recruit and appointment congruence with essence and scarcity, by transparent and fair management, including capability in verification</p><p>3.2 The teachers were not supported to gain a higher academic positions and constructed benchmarks for performance with responsibility.</p><p>4. Suggestions for developing of personnel management in schools composed of ;</p><p>4.1 The teachers and the personnels should be promoted power of mind, morale, and supported in budgeting for working efficiently.</p><p>4.2 The teachers should be entranced in knowledge and self-development continuously for improving their performance.</p><p>4.3 The teachers should have training and mentoring to gain knowledge on regulation and discipline for performing intensively, and including to promote skills, knowledge, attitude, ethics and moral in profession.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/64184สภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 32016-08-05T13:53:32+07:00สุลัดดาวัลย์ อัฐนาคbuajead@gmail.comอัศวฤทธิ์ อุทัยรัตน์buajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการตามความคิดเห็นของครูผู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 3 เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผู้สอนเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาจำแนกตามเพศ ตำแหน่งของครูผู้สอน และวุฒิทางการศึกษาและเพื่อศึกษาเงื่อนไขที่ส่งเสริมการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางสำเร็จรูปของ Krejcie andMorgan ได้กลุ่มตัวอย่าง 283 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับด้านสภาพการปฏิบัติงาน เท่ากับ .98 และด้านปัญหาการปฏิบัติงานเท่ากับ .94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t และการทดสอบค่า F<p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา มีสภาพการบริหารงานวิชาการโดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก และมีปัญหาการบริหารงานวิชาการโดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับน้อย</p><p>2. การเปรียบเทียบสภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา พบว่า</p><p>2.1 ครูผู้สอนที่มีเพศแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการบริหารวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ทั้งโดยรวมและรายด้านแตกต่างกัน</p><p>2.2 ครูผู้สอนที่มีตำแหน่งแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการบริหารวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยรวมไม่แตกต่างกัน</p><p>2.3 ครูผู้สอนที่มีวุฒิการศึกษาแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p><p>3. เงื่อนไขที่ส่งเสริมการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา พบว่า 3.1 ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ต้องมีการวิเคราะห์เอกสารหลักสูตร สาระแกนกลางเกี่ยวกับสภาพปัญหาและความต้องการของสังคมและท้องถิ่น</p><p>3.2 ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องจัดทำแผนการเรียนรู้ตามสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน</p><p>3.3 ด้านการวัดผลประเมินและเทียบโอนผลการเรียน สถานศึกษาต้องกำหนดระเบียบแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการวัดผลประเมินผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา</p><p>3.4 ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาครูผู้สอนต้องศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มสาระ</p><p>3.5 ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ครูผู้สอนต้องจัดหาสื่อและเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน และพัฒนางานด้านวิชาการอย่างสม่ำเสมอ</p><p>3.6 ด้านการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ สถานศึกษาต้องส่งเสริม สนับสนุนให้ครูใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียนในการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างประสบการณ์ให้เกิดกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง</p><p>3.7 ด้านการนิเทศการศึกษาสถานศึกษาต้องจัดอบรมหรือให้การนิเทศด้วยการสอนแก่ครูอย่างสม่ำเสมอ เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานในสถานศึกษา</p><p>3.8 ด้านการแนะแนวการศึกษาสถานศึกษาต้องจัดระบบการแนะแนวทางวิชาการและวิชาชีพภายในสถานศึกษา โดยเชื่อมโยงกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน</p><p>3.9 ด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสถานศึกษาต้องมีการจัดระบบโครงสร้างองค์กร ให้รองรับการจัดระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา</p><p>3.10 ด้านการส่งเสริมความรู้ทางวิชาการแก่ชุมชน สถานศึกษาต้องจัดให้ความรู้ และเทคนิคทักษะทางวิชาการในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ</p><p>3.11 ด้านการประสานความร่วมมือ ในการพัฒนางานวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น สถานศึกษาต้องมีการประสานความร่วมมือช่วยเหลือโดยการวิจัยจะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด</p><p>3.12 ด้านการส่งเสริมสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถานบันอื่นที่จัดการศึกษาต้องจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการศึกษากับสถาบันอื่นอย่างต่อเนื่อง</p><p> </p><p><strong>State and Problems of Academic Affairs in the School Education Expansion Area Office of Ubon Ratchathani Education Service Area 3</strong></p><p>This research aims to study the conditions and problems of academic administration as perceived by the teachers in school Education Expansion under Office of Bangkok City Primary 3 to compare the opinions of teachers about. academic Administration and problems in school, by sex, educational opportunities for their teachers. And Education And to study the conditions that promote the academic administration in schools expand educational opportunities.</p><p>The research population As a teacher in schools Education Expansion Area under the Office of Education District 3 of 55 hotels in Ubon 2555 a total of 1,074 samples were used in the research. Determine the sample size of the table finished Krejcie and Morgan (1970 : 608, cited in Theerawut Mono S. 2550: 143-144) and 283 samples have the confidence both to the operational conditions were .98 and. the operational problems was .94</p><p><strong>The research findings were as follows:</strong></p><p>1. Academic administration of the school to expand educational opportunities. Area under the Office of Education District 3 Ubon condition overall academic administration and all the sides were level. And the problem of academic management, and the sides were level.</p><p>2. Comparison and Problems of Academic Administration expands educational opportunities. Area under the Office of Education District 3 Ubon found.</p><p>2.1 Teachers having sex with a different opinion about the Civil Aeronautics Administration in the Office of School Education Expansion Area Elementary Ratchathani District 3 as a whole and the different aspects</p><p>2.2 Teacher positions with different opinions about the Civil Aeronautics Administration School Education Expansion Overall, no difference</p><p>2.3 Education teachers have different opinions about the administration. Academic school educational opportunities. By different</p><p>3. Conditions that promote academic administration in schools expand educational opportunities. Area under the Office of Education District 3 Ubon found.</p><p>3.1 Development curriculum . Teachers and stakeholders . Must have basic education curriculum document analysis. The core essence of the Ministry of Education About the problems and needs of society.</p><p>3.2 In terms of the development of the learning process. Teachers should plan learning material and activities according to their interest. Aptitudes of learners</p><p>3.3 Measuring the assessment and transfer of learning. The school should set the rules for guidelines on assessing compliance with educational standards .</p><p>3.4 Research to improve the quality of education. Teachers should study research to improve the quality of learning in each strand .</p><p>3.5 In developing innovative media and technology for education. Teachers should provide materials and technology for use in teaching and learning. Academic Development and consistently.</p><p>3.6 The development of learning resources . Education should promote Teachers are encouraged to use the source Learning both in and out of school learning experiences for the students to create an ongoing basis.</p><p>3.7 The Educational Supervision The school should provide training or supervision with instruction to teachers regularly. To evaluate the performance of educational institutions .</p><p>3.8 The Education Schools should organize academic and professional careers in education. By linking with the Student Care.</p><p>3.9 The development of quality assurance in education. The school should have an organized structure .To support a system of quality assurance in education.</p><p>3.10 The promotion of academic knowledge to the community. The school should provide the knowledge. Academic and technical skills in the community regularly.</p><p>3.11 The cooperation In the development of educational institutions and other organizations. The school should be helped by the research collaboration will benefit.</p><p>3.12 The academic support to individuals, families, organizations and agencies. Other educational institutions The school should provide for the exchange of knowledge in management studies with other institutions that manage continuing education.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/64187สภาพและปัญหาในการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 282016-08-05T13:59:28+07:00อัญชุลี อุดรกิจbuajead@gmail.comพงษ์ธร สิงห์พันธ์buajead@gmail.comการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาในการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 และเพื่อเปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยตาม ความคิดเห็นของข้าราชการครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยจำแนกตามตำแหน่ง และขนาดของสถานศึกษา และเพื่อเสนอแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28<p>กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นข้าราชการครู ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และครูผู้ช่วย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ปีการศึกษา 2555 จำนวนทั้งหมด 448 คน ได้มาโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ โดยใช้ขนาดสถานศึกษาเป็นระดับชั้น และเทียบตามตารางสัดส่วน ของ Krejcie and Morgan เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 67 ข้อ มีความเชื่อมั่นเท่ากับ .95 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ ด้วยวิธีการของ Scheffe’</p><p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p><p>1. สภาพการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมและรายด้านมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการพัฒนา สถานศึกษามีการปฏิบัติมากกว่าทุกด้าน ข้อที่มีการปฏิบัติมากที่สุด คือ มีส่วนร่วมในการส่งเสริมโครงการ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสถานศึกษา รองลงมา คือ มีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาสถานศึกษาและมีส่วนร่วม ในการวางแผนการพัฒนางานในสถานศึกษา</p><p>ส่วนปัญหาในการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมและรายด้านมีปัญหาอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการพัฒนาวิชาการ มีปัญหามากกว่าทุกด้าน ข้อที่เป็นปัญหามากที่สุดคือเผยแพร่สื่อการเรียนที่ผลิต ตลอดจน เทคนิคและวิธีการใช้ให้แก่ครูหรือบุคลากรอื่นในโรงเรียน รองลงมา คือ ใช้สื่อการสอนที่หลากหลายเพื่อให้ ผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ และนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้</p><p>2. ผลการเปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยตามความคิดเห็นของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยจำแนกตามตำแหน่งและขนาดของสถานศึกษา พบว่า</p><p>2.1 ข้าราชการครูที่มีตำแหน่งต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสภาพการปฏิบัติงานของครู ผู้ช่วยในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</p><p>2.2 ข้าราชการครูที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสภาพ การปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</p><p>3. แนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 28</p><p>3.1 ด้านการจัดการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย ต้องจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร ให้ความสำคัญกับการใช้สื่อ การพัฒนาสื่อ การใช้ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการวัดผลประเมินผลอย่างหลากหลายเพื่อให้เกิดการพัฒนาผู้เรียนอย่างแท้จริง</p><p>3.2 ด้านการพัฒนาผู้เรียน ครูผู้ช่วยจะต้องพัฒนาการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม พัฒนาผู้เรียน การปลูกฝ๎งคุณธรรม จริยธรรมให้แก่ผู้เรียน การพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกายและสุขภาพจิต ของผู้เรียน การพัฒนาผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ การปลูกฝ๎งวินัย ประชาธิปไตยให้แก่ผู้เรียน การสร้าง ค่านิยมที่ดีงามและความภูมิใจในความเป็นคนไทยของผู้เรียน การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน</p><p>3.3 ด้านการพัฒนาวิชาการ ครูผู้ช่วยควรมีการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาและใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น และการใช้และสร้างเครือข่ายทางวิชาการ</p><p>3.4 ด้านการพัฒนาสถานศึกษา ครูผู้ช่วยควรมีส่วนร่วมในกิจกรรม พัฒนาสถานศึกษา เกี่ยวกับ งานบริหารทั่วไป งานด้านสารสนเทศของโรงเรียน งานสนับสนุนวิชาการ งานโครงการหรือกิจกรรม พัฒนาสถานศึกษา งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นและค่านิยมร่วมในการพัฒนาโรงเรียน</p><p>3.5 ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน ครูผู้ช่วยควรประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและ ชุมชน มีการศึกษาเกี่ยวกับชุมชน ให้ความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน นำชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด การเรียนรู้ ให้บริการชุมชน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ข้อมูลคำแนะนำแก่ชุมชนเกี่ยวกับการใช้สถานที่ของ สถานศึกษาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สถานศึกษากับชุมชนจัดร่วมกัน อย่างเต็มความสามารถ</p><p> </p><p><strong>States and Problems in the Performance of Assistant Teachers in the Secondary Schools under the Secondary Educational Service Area 28</strong></p><p>The research aimed to study the states and problems in the performance of the assistant teachers under the Secondary Educational Service Area 28, to compare the performance of the teachers in question as classified by the ranks and the school size and to propose the guidelines to develop the performance of the teachers.</p><p>The samples in the research were the school administrators, the teachers and the assistant teachers of the schools under the Secondary Educational Service Area 28 in the academic year 2012. The subjects totaling 448 were derived by a stratified random sampling. Krejcie and Morgan’s table was used. The research instruments were a five rating-scale questionnaire of 67 items with a confidence equivalent to .95 and the interview. Statistics used were percentage, mean, standard deviation, variance analysis and Scheffe’s method.</p><p><strong>The research findings were as follows:</strong></p><p>1. The overall performance of the assistant teachers in the study was at a high level. Considering separate issues, it was found that a school development was at a higher level. The aspect most practiced was participation in the projects pertaining to the school development, followed by participation in the development activities and in the planning.</p><p>The problems in the performance of the assistant teachers in the study was at a low level. Considering separate aspects, it was found that the academic affairs development was most problematic. The key issue was the learning media as well as technique and methods on using the media produced. Secondary included a variety of teaching methods to enable the learners to reach a maximum goal in learning and to make use of the local wisdom in their learning.</p><p>2. As for the comparison of the opinions of the assistant teachers as perceived by the teachers under the Secondary Educational Service Area 28, the following were found.</p><p>2.1 The teachers who held a different rank had different opinions towards the performance of the assistance teachers with a statistical significance of .01.</p><p>2.2 The teachers who worked at different sized schools held different opinions towards the performance of the assistant teachers with a statistical significance of .01.</p><p>3. The guidelines for the development of the performance for the assistant teachers were as follows.</p><p>3.1 On learning management: The assistant teachers had to contribute in organizing a variety of learning processes so that the learners could learn well and achieve the goals as specified in the curriculum. Primary should be given to the use of media and development, use of learning sources, local wisdom and a wide range of evaluation.</p><p>3.2 On learners’ development: the assistant teachers had to develop the activities related to promotion and development of the learners, ethical cultivation, life skill development, physical and mental conditions, discipline and good values, pride in being Thais.</p><p>3.3 On academic affairs: the assistant teachers should play a part in developing media, innovation, in using learning sources and local wisdom.</p><p>3.4 On school development: the assistant teachers should play a part in activities, general administration, information technology of the schools, academic affairs support, buildings and environments.</p><p>3.5 On relations with the community: the assistant teachers should be coordinative with the students’ parents and the community, they should have knowledge on the community, be cooperative with the community, involve the locals in organizing learning. Besides, they should provide the academic services to the community.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63643ความเป็นเลิศและการจัดการความเลิศ2016-08-03T15:42:51+07:00สมาน อัศวภูมิbuajead@gmail.comความเป็นเลิศและการจัดการความเป็นเลิศเป็นความมุ่งมั่นที่องค์การต้องการกระทำและจะเป็น แต่มักจะเป็นเพียงคำกล่าวอ้างที่ไม่ค่อยจะทำอย่างจริงจังในทางปฏิบัติในบริบทการบริหารของไทย ประเด็น อาจจะไม่ใช่ว่าผู้บริหารและบุคลากรในองค์การไม่อยากทำ แต่อาจจะเป็นเพราะยังไม่ค่อยชัดเจนในความหมาย และวิธีการที่จะนำไปสู่ความเป็นเลิศที่กล่าวถึงและอยากเป็นก็เป็นได้ บทความนี้จะพยามทำความเข้าใจและชี้ชวน ผู้บริหารและบุคลากรในองค์การที่ต้องการสร้างความเป็นเลิศให้กับองค์การของตนเอง เพื่อมองเห็นจุดเริ่มต้น และแสงไฟแห่งความสำเร็จที่ปลายทางด้วย โดยจะเริ่มต้นจากการทบทวนนิยามความเป็นเลิศ และต่อด้วยหลัก คิดและแนวทางในการสร้างความเป็นเลิศเพื่อเป็นจุดเริ่มต้นในการดำเนินการต่อไป<p> </p>Excellence and managing excellence are commitments that all organizations want and would like to become but merely in words rather than action among Thai management context. The fact might not be that managers and personnel do not want to do, but might have been that the concept of excellence is not settled down and means to achieve it is not fully understood. This article aims to persuade managers and personnel who would like to pursue excellence to see the starting point and achievement light in the end by reviewing some definitions and then principles and guidelines to build excellence as the starting point to begin with.Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63645การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทางการศึกษาในทศวรรษหน้า2016-08-03T15:42:52+07:00ชวนคิด มะเสนะbuajead@gmail.comทรัพยากรบุคคล นับว่าเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาองค์การทุกประเภท เพราะคนเป็นปัจจัยสำคัญ ที่สุด ถ้าองค์การใดมีบุคลากรที่มีคุณภาพ หมายถึง เป็นคนดี เป็นคนเก่งมีศักยภาพสูง มีเจตคติที่ดีต่อการทำงาน สามารถประสานและทำงานร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข ทุ่มเทเสียสละในการทำงาน นับเป็นความโชคดี ขององค์การโดยแท้ อย่างไรก็ดี ทุกคนย่อมต้องการความก้าวหน้าในการทำงาน ในตำแหน่งและหน้าที่ที่รับผิดชอบ โดยกำหนดเส้นทางการพัฒนาอาชีพ (Career Path) ที่ชัดเจน สามารถคาดหวังหรือกำหนดอนาคตของตนเองได้ การพัฒนาบุคคลในองค์การทางการศึกษาการเช่นกัน จำเป็นต้องได้รับการ“เพาะบ่ม” ด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์การทำงาน เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพมากขึ้น ดังนั้น บุคลากรทุกคนจึงต้องเรียนรู้ การพัฒนาตนให้มีความทันสมัยในการทำงานอยู่เสมอ ในขณะเดียวกันองค์การก็จะต้องสนับสนุนและให้โอกาส กับทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งจะเป็นสิ่งแสดงให้เห็นแนวโน้มพัฒนาการและการเจริญเติบโต ขององค์การอย่างไม่หยุดยั้ง<p>ในทัศนะของผู้เขียนเห็นว่า การพัฒนาทรัพยากรบุคคลเป็นกระบวนการที่จะเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ให้กับบุคลากรในหน่วยงาน ตลอดจนพัฒนาเจตคติผู้ปฏิบัติงานให้เป็นไปในทิศทางบวกต่องาน ที่ตนปฏิบัติอันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผล สำหรับการพัฒนาบุคลากรในองค์การทางการศึกษา ในทศวรรษหน้า เพื่อให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิตอล (Digital)นั้นกลายเป็นกลยุทธ์สำคัญของการพัฒนา องค์การ และเป็นโจทย์สำคัญสำหรับนักบริหารว่าทำอย่างไรจึงจะสามารถดึงเอาสมรรถนะและความสามารถ ของบุคลากรที่มีอยู่ในตัวตนออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ เพื่อการปฏิบัติงานที่ตรงกับเปูาหมายองค์การ</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/view/63646จริยธรรมเด็กและเยาวชนเหยื่อของปัญหาสังคม2016-08-03T15:42:52+07:00อธิคุณ สินธนาปัญญาbuajead@gmail.comสภาพปัญหาทางด้านจริยธรรมของสังคมไทยในปัจจุบันถือว่าเป็นปัญหาที่สำคัญในระดับต้น ๆ ของประเทศ ซึ่งปัญหาทางด้านจริยธรรมนั้นจะแฝงตัวอยู่กับทุกกลุ่มอายุ และกลุ่มอาชีพ รวมถึงเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นอนาคตของชาติเป็นกลุ่มหนึ่งที่มีปัญหาการขาดจริยธรรมและดูเหมือนกับว่าจะทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้น การแก้ปัญหาจริยธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชนมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับแก้ไขอย่างเร่งด่วน ซึ่งจะต้อง ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคมโดยมีรัฐบาลเป็นต้นแบบที่ดี และเป็นเจ้าภาพ ในการขับเคลื่อน แก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง แบบเป็นรูปธรรมโดยเฉพาะสิ่งเร้าต่าง ๆ ที่จะเข้าสู่กลุ่มเด็กและเยาวชนเพราะสาเหตุ ที่แท้จริงของปัญหาของเด็กและเยาวชนเกิดขึ้นจากการขาดจริยธรรมของผู้ใหญ่รวมถึงคนในสังคมซึ่งเด็กและ เยาวชนจะเรียนรู้ซึมซับจากสิ่งรอบ ๆ ตัว ดังนั้น การแก้ปัญหาทางด้านจริยธรรมของสังคมไทยควรเริ่มต้นจาก การเปลี่ยน ฐานคิดในการแก้ปัญหาทางจริยธรรมแบบแยกส่วนเป็นแบบองค์รวมในการแก้ปัญหาและพัฒนา จริยธรรมของเด็กและเยาวชน ไปพร้อม ๆ กับการเร่งแก้ปัญหาของผู้ใหญ่และคนในสังคมไทย<p> </p><strong>Ethical of Children and Youth Victims of Social Problems</strong><p>An ethical problem in Thai society today is an important national issue that implicit in all age groups and occupations. Children and youth who are the future of the nation with the lack of ethics it seems as though it is becoming increasingly severe. Therefore, solving ethical problems of children and youth must be solved urgently. Solving problems in children and young people are necessary to gain cooperation from all sectors of society. Government must be a good role model and a host of going problems the only stimulus that will be taken to children and youth. The exact cause of the problems of children and youth arising from the lack of ethics of the adults and people in society. Children learn and absorb from what is around themselves. Therefore, the ethical problems of Thai society should start from a base change in thinking, problem solving and moral development of children and youth along with the accelerating problems of adults and people in society.</p>Copyright (c) 2016 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต (BUABANDIT JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISITRATION)