@article{ใจเที่ยง_2012, title={สายสัมพันธ์วัฒนธรรมผู้ไทสองฝั่งโขง}, volume={1}, url={https://so01.tci-thaijo.org/index.php/gjournal-ksu/article/view/88888}, abstractNote={บทความวิชาการชิ้นนี้ต้องการอธิบายสายสัมพันธ์ของวัฒนธรรมชนเผ่าผู้ไทซึ่งเป็นวัฒนธรรมย่อยของกลุ่มชนที่อาศัยในแถบลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง ซึ่งบทความนี้เขียนขึ้นจากประสบการณ์การเดินทางของผู้เขียนที่ได้มีโอกาสไปสัมผัสบรรยากาศวัฒนธรรมของชาวผู้ไทเมืองวัง ในแขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งถือว่าเป็นแหล่งที่มาของบรรพบุรุษชนลูกหลานชนเผ่าผู้ไทที่อาศัยในประเทศไทยแถบจังหวัดกาฬสินธุ์ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร และอำนาจเจริญในปัจจุบัน โดยการเขียนจะใช้วิธีการเชื่อมความสัมพันธ์ผ่านการถ่ายทอดจากบทเพลงที่เกี่ยวข้อง จากประสบการณ์ที่ท้าวิจัยเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชนชาติพื้นเมืองของผู้เขียน และแง่มุมบางประเด็นที่ต้องอาศัยความละเอียดอ่อนของจิตใจที่เข้าถึงความงดงามทางวัฒนธรรมของชนเผ่านี้เป็นสิ่งถ่ายทอดเพื่อพรรณนาให้เห็นภาพสายสัมพันธ์ของวัฒนธรรมชนเผ่าผู้ไทสองฝั่งโขงที่เกิดขึ้น<p> </p><p>This article would like to explain the cultural ties of the Phuthai tribe which is the sub-culture of the ethnic groups living in the south Mekong river region. The article is written according to the author’s travel experience to visit and learn the cultural ambience of the Phuthai tribe in Savannakhet district, Lao People’s Democratic Republic that is the source of the ancestor of Phuthai tribe living in Thailand around the Kalasin, Nakornpanom, Mukdahan, Sakolnakorn, and Amnat Charoen at the present time. The writing utilized the method of connecting the relationship transferring through the related songs, the experiences of the authors about the tribe history, and some issues that need the delicacy of mind to reach the cultural beauty of this tribe transferring to explain the cultural tribe overview of the Phuthai tribe between both Mekong river banks.</p>}, number={2}, journal={วารสารการบริหารปกครอง}, author={ใจเที่ยง ธันวา}, year={2012}, month={มิ.ย.}, pages={1–20} }