@article{Adisornmongkon_2015, title={ความสำเร็จในการรวมตลาดอาเซียน อีกไกลแค่ไหน? : สะท้อนจากความพร้อมของกฎหมายและนโยบายการแข่งขันทางการค้าของอาเซียนในการจัดการปัญหาผู้ประกอบการที่มีอำนาจเหนือตลาด}, volume={4}, url={https://so01.tci-thaijo.org/index.php/gjournal-ksu/article/view/88956}, abstractNote={The approach to regulate unfair competition and support a free market as a common market in the EU there has common rules which based on the Treaty on the Functioning of the European Union (TFEU) including a supranational institution as the EU Commission, Directorate-General for Competition and the Court of Justice of the European Union (CJEU) to enforce the laws. While the ASEAN has competition policy and law (CPL) which based on the ASEAN Charter and the AEC Blueprint; however, it does not have a supranational body to cope with a distorted market also CPL were not instrument of enforcement of anticompetitive conducts. As the dispute resolution mechanism, ASEAN relies on the traditional ASEAN Way which premised on the principle of consensus that might be an inappropriate approach in the reality in particular coping with the problem of the abuse of a dominant position by refusing to license Intellectual Property Rights (IPRs). To deal with this type of anticompetitive practice it needs ordering a compulsory licensing. Lacking of a supranational body to enforce common competition rules and diversity of competition laws among ASEAN Member States may obstruct the goal of regional economic liberalization and market integration. Eliminating or at least reducing anticompetitive practice will facilitate the regional market integration. The article concludes that to expect the ASEAN market integration in real it should look other regional models as the EU in coping with anticompetitive conducts and restrictions.<p> </p>การจัดการกับปัญหาการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมและสนับสนุนการเป็นตลาดเสรีนั้น ในการรวมตลาดของกลุ่มสภาพยุโรปได้มีการควบคุมให้การแข่งขันทางการค้าเป็นไปอย่างเป็นธรรมโดยอาศัยอำนาจของสนธิสัญญาว่าด้วยการทำงานของสหภาพยุโรป (The Treaty on the Functioning of the European Union) และมีองค์กรในการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง เช่น คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปกระทรวงการแข่งขันทางธุรกิจ และศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ซึ่งในประเด็นเดียวกันนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับอาเซียนซึ่งมีเพียงนโยบายและกฎหมายการแข่งขันทางการค้าที่เป็นแค่กรอบความร่วมมือกันภายใต้กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) และพิมพ์เขียวเศรษฐกิจอาเซียน (The AEC Blueprint) ทั้งยังไม่มีองค์กรที่มีอำนาจในการกำกับและควบคุมบังคับเพื่อจัดการกับปัญหาของการผูกขาดตลาดหรือการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม นอกจากนี้เมื่อศึกษาถึงกลไกการระงับข้อพิพาทอาเซียนมีนโยบายที่จะใช้วิธีการเจรจาและยุติข้อพิพาทด้วยฉันทามติในรูปแบบของวิถีอาเซียน (ASEAN Way) ซึ่งวิธีการยุติข้อพิพาทเช่นนี้ไม่มีความเหมาะสมในการจัดการกับปัญหาของผู้ประกอบการที่ใช้อำนาจเหนือตลาดโดยมิชอบในการจำกัดการแข่งขันทางการค้า เช่น กรณีการปฏิเสธไม่อนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งในการแก้ปัญหาลักษณะนี้จำเป็นต้องมีการสั่งบังคับให้ทำสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งต้องมีองค์กรในการใช้อำนาจบังคับ เมื่ออาเซียนไม่มีองค์กรในการกำกับดูแลและควบคุมเพื่อให้การแข่งขันทางการค้าเป็นไปตามหลักของการแข่งขันที่เป็นธรรม ประกอบกับความแตกต่างของกฎหมายภายในแต่ละประเทศในอาเซียนน่าจะก่อให้เกิดอุปสรรคแก่เป้าหมายของการรวมตลาดและเปิดตลาดเสรีทางการค้าอาเซียน ดังนั้นเพื่อให้การเปิดตลาดเสรีทางการค้าอาเซียนเป็นผลสำเร็จควรต้องมีการขจัดปัญหาดังกล่าวหรืออย่างน้อยที่สุดคือลดการกระทำในลักษณะที่เป็นการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม บทความนี้จึงมีข้อเสนอแนะว่าการรวมตลาดเพื่อให้อาเซียนเป็นตลาดเดียวกันได้อย่างแท้จริงนั้นควรศึกษาแบบอย่างของกลุ่มสหภาพยุโรปในการจัดการกับปัญหาการผูกขาดทางการค้าและการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม}, number={1}, journal={วารสารการบริหารปกครอง}, author={Adisornmongkon, Rungnapa}, year={2015}, month={มิ.ย.}, pages={27–54} }