@article{อุดมกิจมงคล_2013, title={แนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารการพัฒนาเมืองของเทศบาลนครสกลนคร}, volume={2}, url={https://so01.tci-thaijo.org/index.php/gjournal-ksu/article/view/89055}, abstractNote={การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารการพัฒนาเมือง ของเทศบาลนครสกลนคร 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพการบริหารการพัฒนาเมือง ของ เทศบาลนครสกลนคร จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล 3) เพื่อแสวงหาแนวทางใน การแก้ไขปัญหาในการบริหารการพัฒนาเมือง ของเทศบาลนครสกลนคร 4) เพื่อสร้าง ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการบริหารการพัฒนาเมืองในเขตเทศบาลนครสกลนคร ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นประชาชนในเขตเทศบาลนครสกลนคร โดยการกำหนด ขนาดตัวอย่างด้วยวิธีการของ ทาโร ยามาเน ความคลาดเคลื่อนที่ระดับ .05 ตัวอย่าง ที่คำนวณจำนวน 396 คน ดังนั้นผู้วิจัยจึงกำหนดขนาดตัวอย่างจำนวนจำนวน 396 คน และนำไปสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการ เก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว<p>ผลการวิจัยพบว่า</p><p>1) สภาพการบริหารการพัฒนาเมือง ของเทศบาลนคร สกลนคร ในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับ ปานกลาง ทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการเมือง รองลงมาคือ ด้าน สังคม ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านเศรษฐกิจ</p><p>2) การเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อสภาพการบริหารการพัฒนาเมือง ของ เทศบาลนครสกลนคร จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล สามาสรถสรุปผลได้ดังนี้ 2.1) จำแนกตามคุณลักษณะด้านเพศ พบว่า สภาพการบริหารการพัฒนาเมือง ของ เทศบาลนครสกลนคร ในภาพรวม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 โดยเพศหญิงมีความคิดเห็นต่อสภาพการบริหารการพัฒนาเมือง ของ เทศบาลนครสกลนคร สูงกว่าเพศชาย เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีความแตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จำนวน 1 ด้าน คือ ด้านการเมือง โดยเพศ หญิงมีความคิดเห็นต่อสภาพการบริหารการพัฒนาเมือง ของเทศบาลนครสกลนครสูง กว่าเพศชาย 2.2) จำแนกตามคุณลักษณะด้านอายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า สภาพการบริหารการพัฒนาเมือง ของเทศบาลนครสกลนคร ทั้งในภาพรวม และราย ด้าน ทุกด้าน ไม่มีความแตกต่างกัน 2.3) จำแนกตามคุณลักษณะด้านรายได้ต่อเดือน พบว่า สภาพการบริหารการพัฒนาเมือง ของเทศบาลนครสกลนคร ในภาพรวม ไม่มี ความแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 1 ด้าน คือ ด้านสังคม</p><p>3) ประชาชนในเขตเทศบาลนครสกลนคร ได้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนว ทางแก้ไขปัญหาการบริหารการพัฒนาเมือง ของเทศบาลนครสกลนคร คือ เทศบาล ควรประชาสัมพันธ์แผนพัฒนาประจำปีอย่างทั่วถึง เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมในการ จัดทำแผน การสำรวจติดตามประเมินผลจากประชาชน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบไฟฟ้าสาธารณะ ประปา การส่งเสริมอาชีพ การพัฒนาสวนสาธารณะอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นส่งเสริม การสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนรักษาความ สะอาด การปฏิบัติตามกฎจราจร การอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม และภูมิปัญญา ท้องถิ่น การจัดสวัสดิการเพื่อพัฒนาเด็ก สตรี คนชรา ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส์และ ผู้ด้อยโอกาสให้ทั่วถึง และการเพิ่มช่องทางในการรับรู้แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารให้แก่ ประชาชนเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาของเทศบาล</p><p>4) ระดับสภาพการบริหารการพัฒนาเมือง ของเทศบาลนครสกลนคร ที่ควร นำไปศึกษาหาแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารการพัฒนาเมือง ของเทศบาลนคร สกลนคร มีจำนวน 1 ด้าน คือ ด้านเศรษฐกิจ</p><p> </p><p>The purpose of this study was to investigate 1) To study the urban development administration of Sakon Nakorn metropolitan Municipality 2) To compare the urban development administration of Sakon Nakorn metropolitan Municipality, based on personal background 3) To find guideline for the urban development Of the Sakon Nakorn Municipality 4) To construction for policy suggestions. of urban development. Of the Sakon Nakorn Municipality A sample used in this study was 396 people who lived in the Sakon Nakorn Municipality. The sample used in this study, comprised 400 people who were selected by Stratified Random Sampling. The tool used for collecting data was a questionnaire. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and Scheffe’s method.</p><p>The findings revealed as follows:</p><p>1) The overall urban development administration of Sakon Nakorn metropolitan Municipality was at the moderate level. Considering it by aspect, all the aspects were at the moderate level. The aspect gaining the highest mean score was that of Politics. Next below was that of Society. The aspect gaining the lowest mean score was that of Economic.</p><p>2) The comparison of urban development administration of Sakon Nakorn metropolitan Municipality, based on personal background The findings revealed as follows. 2.1) The comparisons based on personal backgrounds between the people of different sexes, the urban development administration of Sakon Nakorn metropolitan Municipality, the overall difference is statistically significant at the .05 level female opinions regarding the management of urban development. Of the Sakon Nakorn metropolitan Municipality. Higher than males. Considering the differences were statistically significant at the .01 level is the number one female political opinions regarding the urban development administration of Sakon Nakorn metropolitan Municipality. Higher than males. 2.2) The comparisons based on personal backgrounds between the people of different sexes, education and occupations. urban development administration of Sakon Nakorn metropolitan Municipality. both overall and in all aspects, no different. 2.3) The comparisons based on personal backgrounds between the people of different income. Urban development administration of Sakon Nakorn metropolitan Municipality. Overall no difference. Considering the differences were statistically significant at the .05 level, is the social.</p><p>3) People in the Sakon Nakorn Municipality. To provide feedback on the development of solutions to manage the town. The Sakon Nakorn metropolitan Municipality. Municipalities should promote the development of the annual plan thoroughly. The processes involved in the preparation of the plan. Survey evaluation of the public. Infrastructure development, public power systems. Plumbing career promotion. Developing local conservation park. Promote public awareness to keep clean. Compliance with traffic laws. Preserving traditional culture and local wisdom. To improve the welfare of children, women, elderly, the disabled and disadvantaged patients thoroughly. And adding the channel to perceived exchange of information to the public. On the development of the municipal administration.</p><p>4) State-level management of urban development. The Sakon Nakorn metropolitan Municipality. To find solutions to urban development administration of Sakon Nakorn metropolitan Municipality. There is one aspect of the economy.</p>}, number={2}, journal={วารสารการบริหารปกครอง}, author={อุดมกิจมงคล ชาติชัย}, year={2013}, month={ธ.ค.}, pages={76–96} }