TY - JOUR AU - Aimimtham, Sukanya AU - Soksan, Imron AU - Saengmahachai, Kaniknan PY - 2018/12/26 Y2 - 2024/03/29 TI - ความมั่นคงของมนุษย์ในกลุ่มผู้สูงอายุจังหวัดขอนแก่น: ความมั่นคงของมนุษย์ในกลุ่มผู้สูงอายุจังหวัดขอนแก่น JF - วารสารการบริหารปกครอง JA - GJL VL - 7 IS - 2 SE - DO - UR - https://so01.tci-thaijo.org/index.php/gjournal-ksu/article/view/163734 SP - 421-448 AB - <p>งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความมั่นคงของมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่นเปรียบเทียบกับระดับประเทศ และเพื่อเสนอแนวทางสร้างความมั่นคงของมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่น การวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มาใช้บริการสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์จังหวัดขอนแก่นในส่วนศูนย์บริการผู้พิการกลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น และผู้สูงอายุทั่วไปที่อาศัยอยู่ในจังหวัดขอนแก่น เชิงปริมาณด้วยแบบสอบถาม จำนวน 200 คน&nbsp; ในเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ 7 คน สถิติที่ใช้ในเชิงปริมาณที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความมั่นคงมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก <strong>&nbsp;</strong>แต่เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านกลับพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ด้านสังคมและวัฒนธรรมประเพณีตามลำดับ โดยมีข้อเสนอให้สนับสนุนผู้สูงอายุให้เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น ทั้งนี้ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการจัดเบี้ยเลี้ยงสำหรับการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่าพาหนะสำหรับการเดินทางไปเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม หรือการจัดชมรมผู้สูงอายุอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี เพื่อให้ได้เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น</p><p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>:</strong></p><p>งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความมั่นคงของมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่นเปรียบเทียบกับระดับประเทศ และเพื่อเสนอแนวทางสร้างความมั่นคงของมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่น การวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มาใช้บริการสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์จังหวัดขอนแก่นในส่วนศูนย์บริการผู้พิการกลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น และผู้สูงอายุทั่วไปที่อาศัยอยู่ในจังหวัดขอนแก่น เชิงปริมาณด้วยแบบสอบถาม จำนวน 200 คน&nbsp; ในเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ 7 คน สถิติที่ใช้ในเชิงปริมาณที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความมั่นคงมนุษย์ของผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก <strong>&nbsp;</strong>แต่เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านกลับพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ด้านสังคมและวัฒนธรรมประเพณีตามลำดับ โดยมีข้อเสนอให้สนับสนุนผู้สูงอายุให้เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น ทั้งนี้ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการจัดเบี้ยเลี้ยงสำหรับการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่าพาหนะสำหรับการเดินทางไปเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม หรือการจัดชมรมผู้สูงอายุอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี เพื่อให้ได้เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น</p><p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>:</strong> ความมั่นคงมนุษย์; ความมั่นคงมนุษย์ของผู้สูงอายุ; ตัวชี้วัดความมั่นคง<br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; มนุษย์; จังหวัดขอนแก่น</p><p>&nbsp;</p><p>&nbsp;</p><p>&nbsp;</p><p>&nbsp;</p> ER -