@article{วรศาสตร์กุล_2021, place={Ayutthaya, Thailad.}, title={การศึกษาภาษาม้งบ้านตูบค้อ ตำบลกกสะทอน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย}, volume={8}, url={https://so01.tci-thaijo.org/index.php/rdi-aru/article/view/253945}, abstractNote={<p>บทความวิชาการนี้มุ่งนำเสนอการศึกษาภาษาม้งบ้านตูบค้อ ตำบลกกสะทอน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย เพื่อศึกษาภาษาม้งบ้านตูบค้อ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย โดยการใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ (learning theory) ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ปราชญ์ชาวบ้าน จำนวน 7 คน การสัมภาษณ์ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ และประกอบกับการศึกษาเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) นำเสนอผลโดยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า 1. ภาษาม้งมีความเป็นมาควบคู่กับวัฒนธรรมของชาวม้ง 2.พยัญชนะในภาษาม้งมี 57 ตัว 3.สระในภาษาม้งมี 14 ตัว  4.วรรณยุกต์ในภาษาม้งมี 7 ตัว 5.หลักการผันคำในภาษาม้ง 6.ประโยคในภาษาม้ง มี 5 ประโยค คือ 1.ประโยคอดีตกาล 2.ประโยคปัจจุบันกาล 3.ประโยคอนาคตกาล 4.ประโยคปฏิเสธ 5.ประโยคที่มีการใช้คำลักษณนาม ฉะนั้นการศึกษาและสืบทอดการใช้ภาษาม้งก็เป็นการรักษาวัฒนธรรมทางภาษาทั้งในการสื่อสารและพิธีกรรมนำไปสู่การอนุรักษ์ภาษาม้ง เพื่อใช้ในการสื่อสารในกลุ่มชาติพันธุ์ม้ต่อไป</p>}, number={3}, journal={วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์}, author={วรศาสตร์กุล วิชชุพงศ์}, year={2021}, month={ธ.ค.}, pages={151–162} }