@article{ชเลธร_2022, place={Ayutthaya, Thailad.}, title={“ศาลรัฐธรรมนูญ” : ศาลยุติธรรมหรือศาลการเมือง}, volume={9}, url={https://so01.tci-thaijo.org/index.php/rdi-aru/article/view/257808}, abstractNote={<p>รัฐธรรมนูญถูกถือว่าเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ที่กฎหมายอื่น ๆ จะ “ขัดหรือแย้ง” มิได้ ดังนั้นเพื่อให้เกิดความชัดเจนว่ามีกฎหมายหรือข้อบัญญัติใด ที่อาจ “ขัดหรือแย้ง” ต่อรัฐธรรมนูญ ก็จึงจำเป็นต้องมี “องค์กร” ขึ้นมาทำหน้าที่พิจารณา ตรวจสอบและตัดสิน ซึ่งในเบื้องต้นมีการจัดตั้ง “คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ” ขึ้นตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙  ต่อมาก็มีการเปลี่ยนแปลง เป็น “<strong>ศาลรัฐธรรมนูญ</strong>” ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540</p> <p>ในปัจจุบัน “ศาลรัฐธรรมนูญ” ถูกตั้งคำถามถึงความชอบธรรมในการดำรงอยู่ เพราะในขณะที่การจัดตั้งศาล อื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็น “ศาลปกครอง” “ศาลทรัพย์สินทางปัญญา” “ศาลยุติธรรม” ”ศาลทหาร” หรือ “ศาลแรงงาน” ต่างก็มีพระราชบัญญัติการจัดตั้งตามกฎหมายขึ้นรองรับทั้งสิ้น แต่ “ศาลรัฐธรรมนูญ” ไม่มี</p> <p>จึงเกิดคำถามว่าสิ่งที่ “ศาลรัฐธรรมนูญ” ได้พิจารณาตัดสินไปแล้ว จะเป็นความชอบธรรมในทางกฎหมายได้อย่างไร</p>}, number={1}, journal={วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์}, author={ชเลธร บุญส่ง}, year={2022}, month={เม.ย.}, pages={125–134} }