TY - JOUR AU - วันปาน, วิลาสินี AU - เรืองศาสตร์, วนิดา PY - 2021/12/31 Y2 - 2024/03/28 TI - การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยชุดฝึกทักษะการสังเกต การจำแนกประเภท และการทดลองสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนประถมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา JF - วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ JA - ARU Res. J. Humanit.Soc.Sci. VL - 8 IS - 3 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://so01.tci-thaijo.org/index.php/rdi-aru/article/view/249464 SP - 41-52 AB - <p>การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสังค์ของการวิจัย 1.) เพื่อสร้างชุดฝึกทักษะการสังเกต การ จำแนกประเภท และการทดลอง&nbsp; เรื่องสารในชีวิตประจำวันของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนประถมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัพระนครศรีอยุธยาให้มีประสิทธิภาพ 80 / 80&nbsp; 2.) เพื่อ เปรียบเทียบทักษะการสังเกตการจำแนกประเภท และการทดลอง&nbsp; เรื่องสารในชีวิตประจำวัน ก่อน และหลังการใช้ชุดฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนประถมสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา&nbsp; ประชากร&nbsp; ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนวิชา วิทยาศาสตร์&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ว 16102 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 69 คน&nbsp; โรงเรียนประถมสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัพระนครศรีอยุธยา กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกตัวอย่างแบบกลุ่ม (cluster Sampling) จำนวนหนึ่งห้องเรียน&nbsp; คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 / 1 ซึ่งมีจำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้&nbsp; ได้แก่ ชุดฝึกทักษะการสังเกต การจำแนกประเภท และการทดลอง&nbsp; เรื่องสารในชีวิตประจำวัน จำนวน 2 ชุด&nbsp; แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึกทักษะการสังเกต การจำแนกประเภท และการ ทดลอง เรื่องสารในชีวิตประจำวันของ จำนวน 2 แผน มีความเหมาะสมและสอดคล้อง อยู่ในระดับดีมาก ( &nbsp;= .25.27, S.D.= 7.388 แบบทดสอบวัดทักษะการสังเกต การจำแนกประเภทและการทดลอง เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน จำนวน 30 ข้อ&nbsp; มีค่า IOC เท่ากับ 0.901 ความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.93 สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่&nbsp; ค่าเฉลี่ย เลขคณิต( ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน&nbsp; (S.D.) การวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง คะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน t-test แบบ paired t-test ผลการวิจัย&nbsp;&nbsp; พบว่า 1.ชุดฝึกทักษะการสังเกต การจำแนกประเภท และการทดลอง&nbsp; เรื่องสารในชีวิตประจำวันที่ พัฒนาขึ้นมี ประสิทธิภาพเท่ากับ 80.45และประสิทธิภาพของผลลัพธ์(E2) เท่ากับ 84.23 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่กำหนด 2.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05</p> ER -