ลักษณะและโครงสร้างของคำปรากฎร่วมภาษาญี่ปุ่น
Keywords:
คำปรากฏร่วมภาษาญี่ปุ่น, คลังข้อมูลภาษา, การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นAbstract
บทความวิชาการชิ้นนี้มุ่งศึกษาเกี่ยวกับคำปรากฏร่วมภาษาญี่ปุ่นในด้านความหมาย โครงสร้างและคลังข้อมูลภาษาเพื่อการวิจัยคำปรากฏร่วม ซึ่งคำปรากฏร่วมภาษาญี่ปุ่นเกิดจากคำ 2 คำขึ้นไปประกอบกันและปรากฏร่วมกันเสมอ โครงสร้างคำปรากฏร่วมภาษาญี่ปุ่นนั้นมี 8 ประเภท คือ 1) คำนาม +คำกริยา 2) คำนาม +คำคุณศัพท์ 3) คำคุณศัพท์ (ส่วนขยาย) + คำนาม 4) คำกริยา /คำกริยาวลี (ส่วนขยาย) + คำนาม 5) คำนาม (ส่วนขยาย) + คำนาม 6) คำวิเศษณ์ (ส่วนขยาย) + คำกริยา 7) คำคุณศัพท์ (ส่วนขยาย) + คำกริยา และ 8) คำวิเศษณ์ (ส่วนขยาย) + คำคุณศัพท์ ในการศึกษาวิจัยคำปรากฏร่วมภาษาญี่ปุ่นนั้นผู้วิจัยนิยมใช้คลังข้อมูลภาษา (Corpus) เป็นแหล่งอ้างอิงความถูกต้องของการใช้ภาษาจากกลุ่มตัวอย่างและนำผลที่ได้มาประยุกต์กับการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น แต่เนื่องจากคลังข้อมูลภาษาของภาษาญี่ปุ่นมีหลากหลายประเภท ผู้ที่ต้องการใช้เพื่ออ้างอิงจำเป็นต้องศึกษาถึงความแตกต่างรวมถึงข้อจำกัดของคลังภาษาในแต่ละแหล่งให้ชัดเจน และจำเป็นต้องศึกษาลักษณะของคำและโครงสร้างของคำปรากฏร่วม เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาในการศึกษาคำปรากฏร่วม
References
Hunston, S. (2002). Corpora in applied linguistics. Cambridge: Cambridge University Press.
三好裕子[Miyoshi](2007) 「連語による語彙指導の有効性の検討」『日本語教育』134, pp. 80-89.
金田一秀穂[Kindaichi](2006) 『知っておきたい日本語コロケーション辞典』 学習研究社
国広哲弥[Kunihiro](1985) 「慣用句論」『日本語学』4 (1), pp. 4-14.明治書院
_________________ (2007)「連語」「慣用句」飛田良文・遠藤好英・加藤正信・佐藤武義・蜂谷清人・前田富祺編『日本語学研究辞典』 明治書院pp. 171-172.
劉瑞利[Ryuu](2017) 「日本語学習者の「名詞+動詞」コロケーションの使用と日本語能力との関係」『日本語教育』166, pp. 62-75.
バックハウス, アンソニー・E[Backhouse](2006) 「語彙教育の単位としてのコロケーション」『北海道大学留学生センター紀要』10,pp. 125-134.
スルダノヴィッチイレーナ[SRDANOVIĆ] (2013) 「大規模コーパスを用いた形容詞と名詞のコロケーションの記述的研究 : 日本語教育のための辞書作成に向けて」『国立国語研究所論集』6号,pp. 135-161.
李文平[Lee](2014)「日本教育書におけるコロケーションの取り扱いに関するー考察」『日本語教育』157, pp. 63-77.
寺嶋弘道[Terashima](2016) 「日本語学習者のコロケーションの選択とその考察―DIC法とDIC-LP法の比較から―」『日本語教育』163, pp. 79-91.
中俣尚己[Nakamata](2014) 『日本語教育のための文法コロケーションハンドブック』くろしお出版
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
"บทความวิชาการในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น"
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์