ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินงานตามรูปแบบการบริหาร และการดำเนินงานตามมาตรฐานและตัวชี้วัด การดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขตพระนครและดุสิต
Keywords:
การดำเนินงานตามรูปแบบการบริหาร, การดำเนินงานตามมาตรฐาน, ตัวชี้วัด, โรงเรียนวิถีพุทธ, Operation under administrative form, Operation under the standard, Indicators, Buddhism schoolsAbstract
การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การ ดำเนินงานตามรูปแบบการบริหารและการดำเนินงาน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดการดำเนินงานโรงเรียนวิถี พุทธของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ในสำนักงาน เขตพระนครและดุสิต 2) เปรียบเทียบการดำเนินงาน ตามรูปแบบการบริหาร และการดำเนินงานตามมาตรฐาน และตัวชี้วัดการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขตพระนคร และดุสิต จำแนกตามสถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินงานตามรูป แบบการบริหารโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขตพระนครและดุสิต ใน 5 ด้าน และการดำเนินงานตามมาตรฐานและตัวชี้ วัดการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขตพระนครและดุสิต ใน 4 ด้าน ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น ครู จำนวน 181 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นทั้ง ฉบับตามวิธีของครอนบาค เท่ากับ .99 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน สถิติทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว และการวิเคราะห์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า 1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 38 ปีขึ้นไป ร้อยละ 33.70 ระดับการศึกษาปริญญาตรี ร้อยละ 76.80 ระยะเวลาใน การดำรงตำแหน่งมากกว่า 8 ปี ร้อยละ 40.33 ขนาดสถาน ศึกษาเป็นโรงเรียนขนาดกลาง (นักเรียน 400 - 800 คน) ร้อยละ 51.93 2) การดำเนินงานตามรูปแบบการบริหาร โรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ใน สำนักงานเขตพระนครและดุสิต ในภาพรวมมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับการปฏิบัติมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นราย ด้าน พบว่า อันดับที่ 1 คือ ด้านกิจกรรมพื้นฐานมีการ ปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาด้านบรรยากาศ และปฏิสัมพันธ์ และมีการปฏิบัติอยู่ในระดับการปฏิบัติ มาก ด้านบริหารจัดการ ด้านกายภาพ และด้านการเรียน การสอน ตามลำดับ 3)การดำเนินงานตามมาตรฐาน และตัวชี้วัดการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขตพระนครและ ดุสิต ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับการปฏิบัติ มากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับที่ 1 คือ ด้านปัจจัยนำเข้ามีการปฏิบัติอยู่ในระดับการปฏิบัติ มากที่สุด รองลงมาด้านกระบวนการ และมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับการปฏิบัติมาก ด้านผลผลิต และด้านผล กระทบ ตามลำดับ 4) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ครูของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขต พระนครและดุสิตที่มีอายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาใน การดำรงตำแหน่ง และขนาดสถานศึกษาต่างกัน มีการ ดำเนินงานตามรูปแบบบริหารโรงเรียนวิถีพุทธในภาพ รวม ไม่แตกต่างกัน และการดำเนินงานตามรูปแบบการ บริหารโรงเรียนวิถีพุทธมีความสัมพันธ์กับ การดำเนินการ ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด โรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขตพระนครและ ดุสิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 5) จากการ วิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน พบว่า การดำเนินงาน ตามรูปแบบการบริหารโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขตพระนครและ ดุสิต ใน 4 ด้าน มีความสัมพันธ์กับการดำเนินการตาม ตัวชี้วัดการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขตพระนครและดุสิต ใน 5 ด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r = .886, p = .000) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การดำเนิน งานตาม รูปแบบการบริหารโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขตพระนครและ ดุสิต ใน 5 ด้าน มีความสัมพันธ์กับการดำเนินการตาม มาตรฐานและตัวชี้วัดการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ ของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ในสำนักงานเขต พระนครและดุสิต ใน 4 ด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .001
Relationship between Operation under Administrative Form and Operation under Standards, and Operational Indicators of Buddhism Schools under the Supervision of Bangkok Metropolitan Administration Office in Phranakorn and Dusit Districts
The objectives of this thesis were 1) to study the operation under the administrative form and the operation under the standard, and operational indicators of Buddhism schools under the supervision of Bangkok Metropolitan Administration Office in Phranakorn and Dusit Districts, 2) to compare the operation under the administrative form and the operation under the standard, and operational indicators of Buddhism schools under the supervision of Bangkok Metropolitan Administration Office in Phranakorn and Dusit Districts, categorized by status of questionnaire respondents, and 3) to study the relationship between 5 aspects of the operation under the administrative form of the Buddhism schools under the supervision of BMA Office in Phranakorn and Dusit Districts, and 4 aspects of the operation under the standard, and operational indicators of Buddhism schools under the supervision of Bangkok Metropolitan Administration Office in Phranakorn and DusitDistricts. The research was conducted by sampling 181 teachers. The tool used for data collection was a questionnaire created by the researcher with the confidence under Cronbach’s method, equal to .99. The statistics used for data analysis included percentage, means, standard deviation, t - test statistics, One - way Analysis of Variance and Pearson Correlation Coefficient.
The research result showed that 1) In the part of general information, the respondents were mostly 38 years old or older at 33.70%, with bachelor degree at 76.80%. Their service year in this position was more than 8 years at 40.33%, and the size of the schools was medium (with 400-800 students) at 51.93%. 2) The overall policy implementation under the management pattern of the Buddhism schools under the supervision of BMA in the office of Phranakorn and Dusit Districts was in the highest level. When considering each aspect, it was found that the most frequent implemented activity was the fundamental activity. The highly implemented activities included the aspects of atmosphere and interaction, management, physical issues, and teaching and learning, respectively. 3) The overall policy implementation under the indicators of the Buddhism schools under the supervision of BMA in the office of Phranakorn and Dusit Districts was in the highest level. When considering each item, it was found that the policy on input factor was implemented the most, followed by the process, while the policy on outcome and impact was implemented in the high level. 4) The test result on hypothesis showed that teachers in the schools under the supervision of BMA in the office of Phranakorn and Dusit Districts, had different age, educational level, service years, and size of schools had no difference on the policy implementation under the management pattern of the Buddhism schools under the supervision of BMA in the office of Phranakorn and Dusit Districts. The policy implementation under the management pattern was related to the policy implementation under the indicators of the Buddhism schools under the supervision of BMA in the office of Phranakorn and Dusit Districts with statistical significance at .01. 5)According to the analysis of Pearson Correlation Coefficient, it was found that the 4 aspects of the operation under the administrative form of the Buddhism schools under the supervision of BMA in the office of Phranakorn and Dusit Districts has relationship with the 5 aspects of the operation according to the indicators of the Buddhism schools under the supervision of BMA in the office of Phranakorn and Dusit Districts with statistical significance at .01 (r = .886, p = .000). When considering each aspect, it is found that the 5 aspects of the operation under administrative form of the Buddhism schools under the supervision of BMA Office in Phranakorn and Dusit Districts has relationship with 4 aspects of the operation under the standard, and operational indicators of Buddhism schools under the supervision of Bangkok Metropolitan Administration Office in Phranakorn and Dusit Districts with statistical significance at .01.
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
"บทความวิชาการในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น"
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์