รูปแบบการเขียนบทความวิจัยเชิงคุณภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการตลาดผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร จังหวัดนนทบุรี

Authors

  • สมบูรณ์ ขันธิโชติ นักศึกษาหลักสูตรยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นดุษฎีบัณฑิต อาจารย์ประจำสาขาวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนค

Keywords:

ยุทธศาสตร์การพัฒนา, การตลาด, ผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์, OTOP, Marketing Strategy Development, Herbal non-food Product

Abstract

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาสภาพ การตลาดด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และการส่งเสริม การตลาด สร้างและตรวจสอบยุทธศาสตร์การพัฒนา การตลาดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทสมุนไพร ที่ไม่ใช่อาหาร จังหวัดนนทบุรี โดยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ ผู้จัดจำหน่ายและหน่วยงานสนับสนุน และการสนทนา กลุ่มโดยผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบยุทธศาสตร์ ใช้การ วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

ผลการวิจัยพบว่า ยุทธศาสตร์การพัฒนาการ ตลาดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทสมุนไพรที่ ไม่ใช่อาหาร จังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ ที่ 1 การพัฒนาความรู้ความเข้าใจด้านช่องทางการ จัดจำหน่ายและการส่งเสริมการตลาด ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร มีการรวมกลุ่มกัน ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการหนึ่ง ตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร

 

Strategy in Development for OTOP Marketing: A Case Study of Non-food Herbal Product in Nonthaburi Province

The objective of this research were 1) to study the marketing, channel of distribution and promotion of OTOP (One Tambon One Product) product, and 2) to create and evaluate strategies for OTOP product marketing for nonfood herbal product in Nonthaburi Province. The study population was comprised of people who were entrepreneurs, supplier, shop owners and people supporting units. The data were analyzed by using content analysis and qualitatively collected by focus group interviewing. The results revealed that the developed strategies for marketing development aforementioned product consisted of three strategies, including 1) developing knowledge management for marketing, channel of distribution and promotion, 2) Promoting and supporting OTOP entrepreneurs to work in unique teams, and 3) expanding entrepreneurs’ network for OTOP product.

Downloads

How to Cite

ขันธิโชติ ส. (2015). รูปแบบการเขียนบทความวิจัยเชิงคุณภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการตลาดผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร จังหวัดนนทบุรี. Academic Journal Phranakhon Rajabhat University, 5(1), 45–56. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AJPU/article/view/42130

Issue

Section

บทความวิชาการ (Article)