การพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า (กระเพาะหมู) 6 ตำบลเพื่อการท่องเที่ยว และรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
Keywords:
พัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น, พื้นที่สีเขียว, อัตลักษณ์ชุมชน, การท่องเที่ยว, ประชาคมอาเซียน, local wisdom Products development, Green Space Area, Identity, Community, Tourism and ASEAN CommunityAbstract
การวิจัยครั้งนี้ได้สำรวจสภาพพื้นที่และชนิด ของผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาที่ผลิตที่บริเวณคุ้งบางกะเจ้า และพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นที่มีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น จากเดิมสามารถรองรับการให้บริการกับชุมชนของ อาเซียน วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม การ สัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มถูกนำไปใช้ 36 ผู้แทน ของผู้นำชุมชนและผู้ผลิต แบ่งการอภิปรายกลุ่มออก เป็น 6 กลุ่มผลิตภัณฑ์ในประเด็นที่เฉพาะเจาะจงเกี่ยว กับการผลิตและตลาดของผลิตภัณฑ์จากชุมชน รวม ทั้งการเก็บรวบรวมข้อมูลความเห็นที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์ชุมชนจากนักท่องเที่ยวแบบสอบถามด้วย
ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพพื้นที่และชนิดของ ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญา ในพื้นที่สีเขียวคุ้งบางกะเจ้า ชุมชน ประกอบอาชีพการทำสวนผลไม้สืบทอดภูมิปัญญามาแต่ โบราณ สภาพพื้นที่สีเขียวมีพืชพรรณธัญญาหารอุดม สมบูรณ์ มีผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากภูมิปัญญา จำนวนรวม ทั้งสิ้น 83 ราย จำแนกเป็น 6 กลุ่มคือ ขนมหวาน อาหาร คาว ผลิตภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ ผลไม้ งานประดิษฐ์ และการเลี้ยงขยายพันธ์ุปลากัด 2) พัฒนาผลิตภัณฑ์ ภูมิปัญญาที่มีคุณค่าเพิ่มมากขึ้นจากเดิมสามารถรอง รับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน คือ (1) กำหนดเกณฑ์ การคัดเลือกผลิตภัณฑ์ที่เป็นตัวแทนความเป็นพื้นที่ สีเขียว มีกระบวนการผลิตหรือพัฒนาต่อยอดโดย ออกแบบบรรจุภัณฑ์ สื่อสารความเป็นอัตลักษณ์วิถี วัฒนธรรมที่ได้รับการคัดเลือกเป็นของฝากจากคุ้ง บางกะเจ้าสู่ประชาคมอาเซียน (2) ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ การคัดเลือก ตามเกณฑ์ จำนวน 6 ผลิตภัณฑ์ คือ เสื้อ พิมพ์ภาพวัฒนธรรมไทย มอญ น้ำตาลมะพร้าว ม้าโยก ไม้ สบู่สมุนไพรฟักข้าว เครื่องประดับจากวัสดุธรรมชาติ และเรือสำปั้นจำลอง (3) ความเป็นอัตลักษณ์ นำลักษณะ ความเป็นพื้นที่สีเขียว วัด ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม วิถี ชีวิตริมน้ำ และ สะพานภูมิพล 1 และ 2 นำมาจัดทำเป็นตราสัญลักษณ์ เพื่อการแสดงความเป็นตัวตนของชุมชน (4) พัฒนาผลิตภัณฑ์ ปรับปรุง กระบวนการบริหาร จัดการ พัฒนาแบบรูปสลากสินค้า บรรจุภัณฑ์ให้สะดวก มีประโยชน์และสวยงาม (5) ความเห็นของนักท่องเที่ยว ต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น พบว่า กลุ่ม ประชากรให้ความเห็นด้วยในระดับมาก ในทุกประเด็น ข้อเสนอแนะจากการวิจัยควรรวมกลุ่มกันเพิ่มมาก ขึ้น แล้วจัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ และทรัพยากรร่วมกันที่มีรูปแบบการจัดการผลิตและ การตลาดให้ได้เหมาะสมสนองความต้องการ เพิ่มช่อง ทางการจำหน่ายให้สามารถจำหน่ายได้ทุกวัน มีคณะ กรรมการตรวจสอบ ประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา ผลผลิตทางการท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ชุมชนเป็น ระยะ เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับมาก ขึ้นต่อไป
Local Wisdom Products Development at 6 Sub-districts of Khung Bangkachao Area to Serve Tourism and ASEAN Community
This research explored the physical area and types of the wisdom products produced at Khung Bangkachao area and developed local products to serve the ASEAN community. A participatory action research methods including, interview and group discussion were applied, 36 representatives of community leaders were asked specific issues on marketing of the products from the community, 6 group discussions with a set of questionnaires was also used to collect the information related to the issues from the tourists.
Research findings illustrated that; 1) the community area at Khung Bangkachao was a green area with different kinds of fruit and vegetable plantations with 83 inherited wisdom product owners classified into 6 groups; Thai food products from natural materials in sweet snack and fishy dishes, artifacts from natural materials, fruits, handicraft, and Siamese fighting fish farm, 2) the development of local wisdom to support the ASEAN community: (1) selection criteria for the products represented a green space were defined, the continuous process to develop packaging design the was completed and, the cultural identity has been chosen as an ASEAN souvenir of Khung Bangkachao (2) products have been selected on the basis of 6 products such as: printed shirt Thai-Mon culture graphic design, coconut sugar, wood rocking horse, Gac soap, artifacts from natural materials and Sampan boat model (3) the characteristics of identity were green area, temple, religion and culture, waterfront lifestyle, Bhumibol 1 and 2 suspension bridges applied to represent the local products, (4) product development and process of management were continuously adjusted such as label and package design to be more convenient, useful and beautiful products, (5) comments on the local products development revealed that; the tourists agreed all issues asked at the higher level, indicating that it can lead to a great deal for future implementation.
Recommendations from the participants were; the existing groups should be expanded, then the management committee and monitoring committee should be established in order to share resources and ideas to properly meet the needs of more channels of distribution while the audit committee was also needed to evaluate the improvement of productivity and community products periodically for more acceptable quality of the products.
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
"บทความวิชาการในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น"
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์