แนวคิดเรื่องศักดิ์ศรีในฐานะสาเหตุแห่งความขัดแย้งในสังคมไทย : มุมมองเชิงพุทธ
Keywords:
ศักดิ์ศรี, สาเหตุ, ความขัดแย้ง, สังคมไทย, พระพุทธศาสนาAbstract
คำว่า ศักดิ์ศรีตามวิธีคิดในสังคมไทยมีหลายความหมาย และหนึ่งในความหมายเหล่านั้น คือ ความหยิ่งทะนงตนหรือการยึดถือตนเองเป็นสำคัญ ไม่ตรงกับคำว่า Dignity แต่ตรงกับคำว่า Egotism วิธีคิดเช่นนี้ก่อให้เกิดความขัดแย้งได้ง่าย จากการวิเคราะห์เรื่องราวความขัดแย้งในพระไตรปิฎกพบว่า มีเรื่องราวความขัดแย้งที่เกิดจากการอ้างศักดิ์ศรีหลายเรื่อง และการอ้างศักดิ์ศรีมีจุดหมายอยู่ 2 ประการคือ เพื่อดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น และยกตนข่มเหงผู้อื่น นอกจากนี้ ยังก่อให้เกิดความขัดแย้งด้านต่างๆ อาทิ ชนชั้น สีผิว เพศ ชาติพันธุ์ และอำนาจ ในขณะที่พระพุทธศาสนาวัดศักดิ์ศรีของมนุษย์ด้วยการกระทำ โดยการเอาชนะตนเองและให้อภัยผู้อื่นReferences
ชลากร เทียนส่องใจ. (2554). การเจราไกล่เกลี่ยคนกลางเชิงพุทธ : หลักการ และเครื่องมือสำหรับการจัดการความขัดแย้ง. ใน พุทธธรรมกับการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ. พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.
ชะวัชชัย ภาติณธุ. (2546) สิทธิมนุษยชนกับหลักการพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2546.
ทิพรัตน์ เติมเพ็ชร. (2550). ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์: ศึกษากรณีการคุ้มครองตามกฎหมายระหว่างประเทศ และตามกฎหมายภายในประเทศ. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.
บี อาร์/อัมเบดการ์. (2548). พระพุทธศาสนา : แนวคิดเพื่อพัฒนาสังคมและการเมือง. พระราชปัญญาเมธี ผู้แปล. กรุงเทพฯ: นิติธรรมการพิมพ์.
พระพยอม กลฺยาโณ. (2533). อย่ากัดกู กูไม่ให้มึงกัด ถูกกัดเพราะมีกู. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี : วัดสวนแก้ว.
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส. (2554). พระพุทธเจ้าในฐานะนักเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.mcu. ac.th/userfiles/file [1 กรกฎาคม 2554]
พระราชธรรมนิเทศ (พยอม/กลฺยาโณ). (2548). อย่ากัดกู: หนังสือที่บอกวิธีป้องกันไม่ให้ถูกกัด. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พุทธรักษ์ ปราบนอก. (2555). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพุทธศาสนามหายาน. ขอนแก่น: กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่มที่ 11, 12, 23 และ 25. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ยศศักดิ์ โกไศยกานนท์. (2540). ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2528). พระธรรมปทัฏฐกถา ฉบับแปลภาษาไทย ภาคที่ 1. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สำนักงานสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. (2557). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 [ออนไลน์] แหล่งที่มา: http: //www.nhrc.or.th/2012/wb/th/ [2 พฤษภาคม 2557].
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
"บทความวิชาการในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น"
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์