การพัฒนาวิถีชีวิตชุมชนพึ่งตนเองของนิคมสร้างตนเอง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
Keywords:
วิถีชีวิตชุมชนพึ่งตนเอง, นิคมสร้างตนเอง, จังหวัดประจวบคีรีขันธ์, Lifestyle be Self-reliant Communities, Create Self Plantation, Prachuapkhirikhan provinceAbstract
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิถีชีวิตชุมชนพึ่งตนเองของนิคมสร้างตนเอง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2) ศึกษาข้อเสนอแนะจากสมาชิกนิคมสร้างตนเอง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ถึงความต้องการการดำเนินชีวิตของชุมชนปัจจุบัน และ 3) สร้าง
องค์ความรู้ใหม่ที่ใช้อธิบายวิถีชีวิตชุมชนพึ่งตนเองของนิคมสร้างตนเอง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ปัจจุบันเพื่อเป็นประโยชน์ต่อชุมชนต่อไปในอนาคตใช้ระเบียบ
วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรหรือผู้ให้ข้อมูลำคัญ คือผู้ปกครองและพนักงานของนิคมสร้างตนเองฯ บุคลากรของหน่วยงานราชการ-สหกรณ์ และสมาชิกของชุมชนนิคมสร้างตนเองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รวม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือการพบปะ พูดคุย การสนทนา การสังเกตปรากฏการณ์ในชุมชน การสัมภาษณ์เชิงลึก และการศึกษาจากเอกสารของหน่วยงานต่าง ๆ ในพื้นที่การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาอธิบายปรากฏการณ์วิถีชีวิตชุมชนพึ่งตนเองขอนิคมสร้างตนเองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผลการศึกษาพบว่า 1. การพัฒนาวิถีชีวิตชุมชนพึ่งตนเองของนิคมสร้างตนเองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เริ่มดำเนินการตั้งแต่การจัดตั้งนิคมสร้างตนเองฯ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยและที่ดินทำกินของราษฎรยากจน โดยการนำที่ดินรกร้างว่างเปล่า เป็นป่าเสื่อมสภาพ มาจัดสรรให้ราษฎรครอบครัวละ 22 ไร่ ใช้เป็นที่อยู่อาศัยและที่ดินทำกินวิถีชีวิตของชุมชนนี้ราษฎรประกอบอาชีพทางการเกษตร เกี่ยวกับ การปลูกสับปะรด การปลูกขนุนการปลูกมะพร้าว การปลูกยางพารา การปลูกปาล์มน้ำมัน การปลูกข้าว การปลูกกล้วย-อ้อย และมีการเลี้ยงโคนม โคเนื้อ 2. ข้อเสนอแนะของราษฎร คือเกษตรกรมีความต้องการให้ราคาผลผลิตทางการเกษตรสูงกว่าปัจจุบัน เพื่อทำให้ทุกครัวเรือนมีเศรษฐกิจที่ดีขึ้น 3. องค์ความรู้ใหม่ที่ใช้อธิบายวิถีชีวิตชุมชนพึ่งตนเองของนิคมสร้างตนเอง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ปัจจุบัน
The purposes of this research were to study : 1)1)To study lifestyle be self-reliant communities of create self plantation in Prachuapkhirikhan province in the present. 2) To study suggestions from create self plantation members in Prachuapkhirikhan province to needs lifestyle in the present and 3)To create new knowledge that is used to describe lifestyle of self plantation in Prachuapkhirikhan province in the present for To benefit the community in the future a qualitative research.Research methodology were qualitative population or Keyinformants was government agency personnel and self plantation community members in Prachuapkhirikhan province including 30 people. Data collection was performed by observing the conversation to discuss the phenomenon in the community. Depth interviews and the study of documents from various agencies in the area were analyzed Data collection was performed by observing the conversation to discuss the phenomenon in the community. Depth interviews and the study of documents from various agencies in the area were analyzed. The research report describes the phenomenon lifestyle be self reliant of self plantation community in Prachuapkhirikhan province. The results were as follows : That lifestyle be self reliant of self plantation community in Prachuapkhirikhan province. Proceed from the establishment self plantation. To solve the problem of housing and arable land of poor people. By land wilderness a forest deteriorate representatives allocated to each family 22 acres used for residential and arableland since 1969. The settlement is the parent parental care. The life of this community, representatives of agricultural occupations.Both to grow plants and animal farming. The most popular a career pineapple planting, jackfruits planting, coconut planting, rubber tree, palm oil planting, rice planting, bananas - cane planting and dairy farming milk produced packaged and sold. Suggestions of the people was the farmers are demanding a price higher than the current agricultural products. Every household has to make the economy better.
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
"บทความวิชาการในวารสารฉบับนี้ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น"
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์