ตัวแบบการตลาดของธุรกิจประกันชีวิต

Authors

  • อมตา สมานโสร์ หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยปทุมธานี

Keywords:

ตัวแบบการตลาด, ธุรกิจประกันชีวิต, Marketing Model, Insurance Business

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเรื่องตัวแบบการตลาดของธุรกิจประกันโดยมีวัตุถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำตัวแบบการตลาดของธุรกิจประกันชีวิตไปปรับใช้ในธุรกิจประกันชีวิตให้ประสบความสำเร็จยิ่งขึ้น ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพจากประชากรที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร โดยสุ่มตัวอย่าง 400 ตัวอย่าง แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติที่ใช้คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ
ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับการทดสอบสมมติฐานสถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะห์นนั้ โดยการวิเคราะห์
หาความสัมพันธ์เพียร์สัน และถดถอยเชิงพหุคูณเพื่อสร้างตัวแบบการตลาดธุรกิจประกันชีวิต ที่ระดับความสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 246 คน คิดเป็นร้อยละ 61.50 เพศหญิง จำนวน154 คน คิดเป็นร้อยละ 38.50 อายุ 18 – 25 ปี จำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละะ 18.50 อายุ 26 – 30 ปี จำนวน 227 คน คิดเป็นร้อยละ 56.70 อายุ 31 – 40 ปี จำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 11.50 อายุ 41 ปีขึ้นไป จำนวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ 13.30 สถานภาพโสด จากจำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 สมรส จำนวน 190 คน คิดเป็นร้อยละ 47.50 หม้าย จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 22.30 หย่า จำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 15.20 ระดับการศึกษาปริญญาตรี หรือเทียบเท่า จำนวน 249 คน คิดเป็นร้อยละ 62.30 ปวส./ปวช. จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 12.00 มัธยมศึกษา จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 11.20 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 14.50 อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน จำนวน 194 คน คิดเป็นร้อยละ 48.50 พนักงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 เจ้าของกิจการ /ค้าขาย จำนวน 146 คน คิดเป็นร้อยละ 36.50 2. พฤติกรรมการซื้อกรมธรรมป์ประกันชีวิตด้านชีวิต + ค่ารักษาพยาบาล จำนวน 180 คน คิดเป็นร้อยละ 45.00 ด้านจำนวนกรมธรรม์ชีวิต ส่วนใหญ่ซื้อ 2-3 กรมธรรม์ จำนวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 37.00 ด้านระยะเวลาที่คุ้มครองส่วนใหญ่ซื้อกรมธรรม์ระยะเวลาคุุ้มครอง 11 – 15 ปี จำนวน 139 คน คิดเป็นร้อยละ 34.70 3. ระดบั ความสำคัญส่วนประสมการตลาดของธุรกิจประกันชีวิตในภาพรวมเฉลี่ย และทุกด้านลูกค้าให้ระดับความสำคัญความสำคัญมาก หากพิจารณาจัดลำดับความสำคัญ ส่วนประสมการตลาดของธุรกิจประกันชีวิตจากค่าเฉลี่ย พบว่าลำดับแรก ลูกค้าให้ความสำคัญด้านการส่งเสริมการตลาดด้านสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ด้านการให้บริการด้านการจัดจำหน่ายด้านการให้บริการด้านผลิตภัณฑ์และด้านราคาเรียงลำดับ
This dissertation is a research investigation entitled “Marketing Model of Life Insurance Business” Investigated are implementations of the successful marketing for life Insurance business in order to ascertain on a practical level what performance management systems would be appropriate for life Insurance company in Thailand. This research was qualitative and quantitative research. People live in Bangkok by purposive sample 400 respondents.
Questionnaire was the tool to collecting data. The analysis was conducted by computer
software, statistical treatments by computer programs namely: frequency, percentage, mean, standard deviation, ranking, One Way ANOVA, compare Least Significant Different (LSD), Pearson Correlation, and Multiple Regression Analysis to created marketing model of life insurance business. The research found that: 1. The majority of respondents were male
246 respondents (61.50%) female 154 respondents (38.50%) their age between 18 -25 year old 74 respondents (18.50%) 26 – 30 year old 227 respondents (56.70%) 31 – 40 year old 46 respondents (11.50%) and upper 41 year old 53 respondents (13.30%), their Status Single 60 respondents (15.00%) married 190 respondents
(47.50%) widowed 89 respondents (22.30%) and divorced 61 respondents (15.20%) education attend Bachelor’s Degree 249 respondents (62.30%)Diploma Degree 48 respondents (12.00%) Secondary schools 45 respondents (11.20%) and other 58 respondents (14.50%). Career Employee 194 respondents (48.50%) Government Employee 60 respondents (15.00%) and Owner/Merchandisers 146 respondents
(36.50%) 2. Finding indicated major of purchasing behavior life insurance policy contract plus medical fee 180 respondents (45.00%) and customers bought 2 – 3 contracts 148 (37.00%), the period of time protect between 11 – 15 years 139 respondents (34.70%) 3. Finding indicated that all area of studies and every marketing factors with high level. However, the raking by mean, the first promotion, customer relationship, services area,
place, products, and price area respectively.

Downloads

How to Cite

สมานโสร์ อ. (2016). ตัวแบบการตลาดของธุรกิจประกันชีวิต. Academic Journal Phranakhon Rajabhat University, 6(1), 146–159. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AJPU/article/view/55166

Issue

Section

บทความวิจัย (Research Article)