รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงบูรณาการสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระดับปฐมวัยสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย

Authors

  • ศักดา แจ่มแจ้ง สาขานวัตกรรมการบริหารจัดการการศึกษา มหาวิทยาลัยราขภัฏสวนสุนันทา

Keywords:

รูปแบบการพัฒนา, ภาวะผู้นำเชิงบูรณาการ, ผู้บริหารสถานศึกษา, Development Model, Integrative Leadership, School Administrator

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงบูรณาการสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับปฐมวัย สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย และ 2) พัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงบูรณาการ  สำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระดับปฐมวัย  สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย การวิจัยใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้ทำการศึกษากลุ่มตัวอย่าง จำนวน 560 คน เครื่องมือได้ทำ แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันลำดับที่สอง ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลทางสังคมศาสตร์ สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 คน และสนทนากลุ่ม จำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบจำลององค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมามีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ที่ดีมี 7 องค์ประกอบ ได้แก่ การเป็นผู้นำเชิงบริหารการกำหนดยุทธศาสตร์ในการทำงาน  การทำงานเชิงรุก การแก้ไขปัญหาได้รวดเร็ว  การคิดนอกกรอบ การทำงานร่วมกับทุกฝ่าย และความทันสมัย 2) รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงบูรณาการ ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ 3 ด้าน ได้แก่ ยุทธศาสตร์ด้านการฝึกอบรม  ยุทธศาสตร์ด้านนโยบายระดับสูงในการส่งเสริมการปฏิบัติงานเชิงบูรณาการ และยุทธศาสตร์ด้านการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนในการส่งเสริมการปฏิบัติงานเชิงบูรณาการ

 

 

References

กาญจนาคุณารักษ์. (2540). การสอนแบบบูรณาการ. ประชากรศึกษา, 2, 18-13.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2549). การคิดเชิงบูรณาการ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.
เกรียงศักดิ์ เขียวยิ่ง. (2550). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ซักเซสมีเดีย
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2547). การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย.
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2549). ภาวะผู้นำองค์กรยุคใหม่. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท, 2549.
เตือนใจ ดลประสิทธิ์. (2552). การพัฒนาระบบการพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ ภาควิชานโยบายการจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา สาขาวิชา บริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฆนัท ธาตุทอง. (2551). การออกแบบการสอนและบูรณาการ. กรุงเทพมหานคร: เพชรเกษมการ.
เทื้อน ทองแก้ว. (2558.). “การบริหารเชิงบูรณาการ (CEO)”. [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา:
http://www.tpa.or.th/industry/content.php?act=view&id=17 (วันที่ค้นข้อมูล 26 ตุลาคม 2558).
วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2556). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ : โฟร์เพซ.
วิเชียร วิทยอุดม. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนธัชการพิมพ์ จำกัด.
ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2549). การแสวงหาและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารมืออาชีพ :กรณี ผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.
สุทธนา ฮั่นเกียรติพงษ์. (2552). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการที่เป็นเลิศของ โรงเรียนอนุบาลเอกชน. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมน อมรวิวัฒน์. (2544). การศึกษาเพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2546). รูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน: ประสบการณ์ที่คัดสรรโรงเรียนในโครงการ “โรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน” กรุงเทพฯ : สกศ.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2555). แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน มาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2548). แผนการศึกษาแห่งชาติ(พ.ศ.2545 –2559)ฉบับ สรุป. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สรินทร เชี่ยวโสธร. (2554). รูปแบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์สำหรับสถาบันอุดมศึกษาสังกัด กองทัพบก. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาควิชานโยบายการจัดการและความเป็นผู้นำ ทางการศึกษา. สาขาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2546). กระทรวงมหาดไทย. กรุงเทพฯ.
สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2547). กระทรวงมหาดไทย. กรุงเทพฯ.
สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ.(2547). การพัฒนาสมรรถนะการบริหาร ทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือนประสบการณ์จากส่วนราชการนำร่อง. กรุงเทพฯ: บริษัท พีเอ ลีฟวิ่ง จำกัด.
Darling & Hammond. (1990). The Teaching Internship: Practical Preparation for a Licensed Profession (Rand Report). Publisher: Rand Corp
Faghri, R. (2007). Tourism Planning and Policy making of the Islamic Republic of Iran
(Analysis of the four Five-year Development Plans). Master Thesis of Business
Administration and Social Science, Division of Industrial marketing and e- commerce,Luled University of Technology
Gitera, V. (2008). The Development and promotion of heritage tourism in Rwanda.
Thesis Master for the degree of Technology, Tourism and Hospitality Management in the Faculty of Business Cape Peninsula University of Technology.
Kafle, J. (2011). Poverty Alleviation through Sustainable Tourism Development in
Nepal: Marketing Strategy Point of View. Thesis Degree programme InternationalBusiness Management, Business School Seinajoki, University of Applied Sciences..
Kaplan, R.& Norton, D. (2001). The Strategy - Focused Organization. Harvard Business
Review: BSPC.
Lee, K (2015). Development and Validation of K-ICT (Korea-Integrative Creativity Test) for Elementary and Secondary School Students. Social and Behavioral Sciences. 186(13), 305-314.
Lussier, R. N., & Achua, C. F. (2007). Leadership: Theory, application, and skill development (3rd ed.). Mason, OH: Thomson South-Western.
McShane, S. L., & Von, G, (2005). Organizational Behavior. Boston: McGraw-Hill.
Nahavandi, A. (2000). The Art and Science of Leadership. Prentice-Hall. Inc., 6-7.
Nelson, L.D & Quick, C.J (1994). Understanding Organizational Behavior. Canada: College & School Division.
Nosella, A., & Petroni, G. (2007). Multiple network leadership as a strategic asset: The Carlo Gavazzi Space case. Long Range Planning. 40: 178–201.
Nelson, D. L., & Quick, J. C. (2006). Organization. Behavior : Foundations, Realities and Challenges, 5th Edition. Mason, OH : South-Western/Thompson.
Pearce, J. A., & Robsinson, R. B. (2009). Strategic management: Formulation, implementation and control (11thed.). New York: McGraw-Hall.
Peter Y.T.S, Marc, H. A (2012). Civic capacity: Building on transformational leadership to explain successful integrative public leadership.The Leadership Quarterly. 23(3),
309-323.
Pitts, R. A. & Lei, D. (2000). Strategic management building and sustaining
competitive advantage. Dallas, TX: Southern Methodist University.
Rue, L. W. & Byars, L.L. (2000). Human resource management. Irwin.McGraw-Hill.
Robbins , S. P. (2003). Organizational Behavior 10th ed. New Jersey: Prentice-Hall,
Sunhee Y, Ma G. & Yang, P. H (2012). Integrative leadership for effective supply chain implementation: An empirical study of Korean firms. International Journal of Production Economics. 139(1), 237-246.
Tsai, C. (2010). A study of the relationships among principals’ technological leadership, organizational culture, and innovative management effectiveness in elementary schools (Unpublished doctoral dissertation). National Taipei University of Education, Taiwan.
Toole J.C. & Seashore L.K.S. (2002). The Role of Professional Learning Communities in International Education, education.umn.edu/CAREI/Papers/JULYFINAL.pdf
Witt, L.A., (1998). Enhancingorganizationalgoalcongruence:asolutiontoorgani-zational politics. Journal of Applied Psychology. 83(4),666–674.

Downloads

Published

2017-07-26

How to Cite

แจ่มแจ้ง ศ. (2017). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงบูรณาการสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระดับปฐมวัยสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. Academic Journal Phranakhon Rajabhat University, 8(2), 93–113. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AJPU/article/view/64001

Issue

Section

บทความวิจัย (Research Article)