การสร้างแบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอล สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนศรีจิตรา จังหวัดปทุมธานี

Authors

  • นภชา จั่นจุ้ย นักศึกษา ปริญญาโท หลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เอกพลศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Keywords:

Constrution, Skills, Rating Scale

Abstract

The purpose of this research was to study Construction of Volleyball Skills Rating Scale for Grade 6 Srijitra School in Pathum Thani Province, which were movement skills, under passing skills, setting skills and serving skills. There were 7 experts for checking rating scales to find Content Validity by Rovinelli and Hambleton methods, Reliability by Test–Retest, and Objectivity by using two estimators. A sample group was 6th Grade students from Srijitra School who were studying Volleyball during early year of 2013. A researcher separated the sample group into two groups which came from Sample Random Sampling by using drawing. Two sample groups were 30 male students and 30 female students, and overall was 60 students

The result shows that volleyball skills rating scales has content validity of movement skills, under passing skills, setting skills and serving skills for 1.00, which can be measured along with a real behavioral objectives. Reliability and Objectivity have objectivity values on good to excellence levels which equals 0.97 within standard of volleyball skills. The 6th Grade students of Srijitra School, Pathumthani Province can be used for estimating volleyball skills.

References

กฤษณะ อินทโชติ. (2556). การสร้างแบบทดสอบทักษะและเกณฑ์ปกติของกีฬาเซปักตะกร้อ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสถาพรวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เจษฎา ตาลเพชร. (2554). การสร้างแบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอลสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ในจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ทิพาภรณ์ วงศ์ศรีรันต์. (2549). การสร้างแบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. (2547). การวัดประเมินการเรียนรู้ (การวัดประเมินแนวใหม่). กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญส่ง โกสะ. (2547). การวัดและประเมินผลทางพลศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน.
วรศักดิ์ เพียรชอบ. (2548). ปรัชญา หลักการ วิธีสอน และการวัดเพื่อประเมินผลทางพลศึกษา.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สังคม พื้นชมพู. (2547). การสร้างแบบวัดภาคปฏิบัติกีฬาวอลเลย์บอล กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาการวัดและประเมินการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อรพิมล กิตติธีรโสภณ. (2552). การสร้างแบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอล สำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อุทุมพร (ทองอุไทย) จามรมาน. (2548). มาตรวัดประมาณค่า. กรุงเทพมหานคร: ฟันนี่พับลิชชิ่ง.

Downloads

Published

2017-08-08

How to Cite

จั่นจุ้ย น. (2017). การสร้างแบบทดสอบทักษะกีฬาวอลเลย์บอล สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนศรีจิตรา จังหวัดปทุมธานี. Academic Journal Phranakhon Rajabhat University, 8(1), 159–168. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AJPU/article/view/69660

Issue

Section

บทความวิจัย (Research Article)