การดำเนินงานประกันคุณภาพในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีประสิทธิผล

Main Article Content

กมล สาดศรี

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาการดำเนินงาน ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีประสิทธิผล โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) ศึกษาองค์ประกอบของการดำเนินงาน ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (2) ศึกษาแนวทางการดำเนินงานประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีประสิทธิผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้อำนวยการ สถานศึกษาและครูที่รับผิดชอบงานประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (\inline \bar{x}) และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)

ผลการวิจัยพบว่า

1. องค์ประกอบของการดำเนินงาน ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สำคัญ ได้แก่ 1) การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา (Education Quality Development) 2) การตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (Education Quality Audit) และ 3) การประเมินคุณภาพ การศึกษา (Education Quality Assessment)

2. แนวทางการดำเนินงานประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 1) การวางแผน 2) การดำเนินการ และ 3) การ ตรวจสอบ ประเมินและปรับปรุงคุณภาพการ ศึกษา โดยมีหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1) การ กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2) การจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษาสถานศึกษาที่ มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานของสถาน ศึกษา 3)การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ 4) การดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการ ศึกษา 5)การจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา 6) การจัดให้มีการประเมินคุณภาพ ภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 7) การจัดทำรายงานประจำปีสำหรับการประเมิน คุณภาพภายใน และ 8) การจัดให้มีการพัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

 

The Internal Quality Assurance Affairs in the Basic Education Insittutions Effectiveness

This research assurance performing was oriented in studying for internal quality processing in the basic educational schools effective. These the research purpose were; (1) to study for the elements of internal quality assurance processing in basic educational school effectively; and (2) to study for the ways of internal quality assurance processing in basic educational schools effectively. The samples used in this study were consisted of the principals and teachers who were responsible performed in internal quality assurance for their schools. The statistics used in this study were mean and standard deviation.

The research results were as follows:

1. The important elements of internal quality assurance processing in basic educational schools composed of; 1) the educational quality development, 2) educational quality auditing, and 3) educational quality assessment.

2. The approaches for internal quality assurance processing in schools composed of; 1) planning, 2) operating, 3) auditing, assessing and revising for educational qualities. Where by concerning with criterions and approaches for internal quality assurance in schools were as; 1) providing schools educational standards; 2) creating plans for developing schools qualities based on schools benchmarks ; 3) providing of management and information system; 4) operating for educational developing plans; 5) providing of educational quality monitoring; 6) performing to assess internal quality according to the school benchmarks; 7) operating for the annual report of internal quality assurance; and 8) providing of educational developing continuously.

Article Details

Section
บทความวิชาการ (Academic Article)