การพัฒนาระบบบริหารงานวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่มีประสิทธิผล แผนกสามัญศึกษา สังกัดสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

Main Article Content

วรวิทย์ ภูเขม่า
กชพร นานาผล
เกรียงศักดิ์ ศรีสมบัติ

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหาและแนวทางการพัฒนาระบบบริหารงาน วิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่มีประสิทธิผล 2) เพื่อสร้างและพัฒนาระบบบริหารงานวิชาการโรงเรียน พระ ปริยัติธรรมที่มีประสิทธิผล 3) เพื่อทดลองใช้ระบบบริหารงานวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม ที่มีประสิทธิผล กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร ครูวิชาการ จานวน 404 คน จาก 202 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกผลการสนทนากลุ่ม แบบประเมิน แบบสังเกต แบบบันทึกการประชุมอิงผู้เชี่ยวชาญ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการพัฒนาระบบบริหารงานวิชาการมีค่าเฉลี่ยโดยรวมและรายด้านอยู่ใน ระดับมาก ค่าเฉลี่ยเรียงตามลาดับดังนี้ ด้านการบริหารจัดการและผู้บริหาร ด้านส่งเสริมผู้เรียนและด้านการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนของครู ส่วนปัญหาการพัฒนาระบบบริหารงานวิชาการโดยรวมและรายด้านอยู่ใน ระดับปานกลาง เรียงตามลาดับดังนี้ ด้านการจัดการเรียนการสอนของครู ด้านการบริหารจัดการและด้านส่งเสริม ผู้เรียน 2) ผลการสร้างและพัฒนาระบบบริหารงานวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่มีประสิทธิผลประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก 16 องค์ประกอบย่อยได้แก่ ประสิทธิผลด้านการบริหารจัดการและผู้บริหารมี 7 องค์ประกอบ ประสิทธิผลด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมี 5 องค์ประกอบ และประสิทธิผลด้านคุณภาพผู้เรียนมี 4 องค์ประกอบ 3. ผลการทดลองใช้ระบบบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิผล สาหรับโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัดสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 3 แห่ง ตามวงจร PDSA ผู้บริหารและครูมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนา มีการร่วมนิเทศติดตาม และมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการพัฒนาระบบบริหารงาน วิชาการประสิทธิผล สาหรับโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่มีแผนกสามัญศึกษา โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก เรียงตามลาดับค่าเฉลี่ย ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู ด้านคุณภาพผู้เรียน ด้านการบริหาร จัดการและผู้บริหาร ตามลาดับ ผลจากการประชุมอิงผู้เชี่ยวชาญของผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน พบว่า มี 3 องค์ประกอบหลัก และ 17 ตัวชี้วัด รูปแบบมีความเป็นไปได้ และมีประสิทธิผล โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลาดับ ค่าเฉลี่ยของความเป็นไปได้คือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู ด้านการบริหารจัดการและผู้บริหาร ด้านคุณภาพผู้เรียน ตามลาดับ ความมีประสิทธิผลเรียงตามลาดับค่าเฉลี่ยคือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ของครู ด้านการบริหารจัดการและผู้บริหาร ด้านคุณภาพผู้เรียนตามลาดับ

 

Development for Academic Affaire Administration for Prapariyattidhamma Scholl in the Several Education Section Under Office of National Buddism

This research has the following objectives (1) to study the condition, problem and development plan of academic affairs administration in the Phrapariyattidhamma School for the effectiveness of its administration. (2) to establish and to develop the effective system for academic administration, and (3) to implement the academic affairs development system. The samples were 404 administrators and teachers from 202scools. Instruments used were questionnaires, interviews, focus group evaluation, observation forms, conference records of experts, evaluation of development manual. Quantitative and qualitative data were analyzed using statistics such as frequency, percentage, mean and standard deviation.

The results showed that : 1) The development of academic affairs administration in the Phrapariyattidhamma schools yield effectiveness at a high level both overall and specifically. Highest means were on the management and administrator parameter, promotion of learners’ parameter, and teachers’ instructional activity parameter respectively. While the problem in development schools’ academic affairs was at a medium level. 2) Construction and development of the system on academic affairs administration bases on five experts opinions, it showed that three main elements and sixteen sub-elements were correlated. First main elements were 7 sub-elementson The second main elements were 5 subelements. The third main elements were 4 sub elements. 3) Results of implementation for the model for development of academic affairs administration in the Phrapariyattidhamma schools, based on the PDSA cycle, all administrators and teachers had a better understanding of the development in a high level. The degrees were ranged from teacher instruction parameter, student quality parameter, and the one in management by the administration respectively. Based on the results of a meeting with nine experts, it found that there are three main elements and seventeen indicators were possible to implement and effective. The most level of possibility are ranged from: teacher instruction, management of the administrators, and student quality respectively. While the most level of effectiveness are also ranged from: teacher instruction, management of the administrators, and student quality as well.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)