การพัฒนาการบริหารงานบุคคลสาหรับตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค. (2) ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

Main Article Content

สโรชา บุรีศรี
นพดล เจนอักษร

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ สภาพปัญหาการดาเนินงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล สาหรับตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อวิเคราะห์ แนวทางการบริหารจัดการการดาเนินงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสาหรับตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค. (2) ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อประเมินผลการยืนยันแนวทางการบริหารจัดการ การดาเนินงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสาหรับตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) วิเคราะห์ข้อมูล เชิงเนื้อหา ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาสภาพปัญหาการดาเนินงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสาหรับ ตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2) การสร้างแนวทาง การบริหารจัดการการดาเนินงานเกี่ยวกับบริหารงานบุคคลสาหรับตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตาม มาตรา 38 ค. (2) ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3) ยืนยันแนวทางการบริหารจัดการการดาเนินงานเกี่ยวกับ บริหารงานบุคคลสาหรับตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ผลการวิจัย พบว่า

1. การดาเนินงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสาหรับตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค. (2) ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พบว่า มีการดาเนินการไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด ที่พบมากที่สุด จานวน 5 ประเด็น จากทั้งหมด 12 ประเด็น ได้แก่ 1) การเลื่อนระดับ ตาแหน่งผิดพลาด พบว่า นับระยะเวลาเกื้อกูลไม่ครบตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ ก.ค.ศ.กาหนด 2) การแต่งตั้งผิดพลาด พบว่า แต่งตั้งผู้มีคุณวุฒิไม่เป็นไปตามมาตรฐานตาแหน่ง ระยะเวลาในการดารงตาแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ไม่ครบ 1 ปี และนับระยะเวลาเกื้อกูลในสายงานนิติการ สายงานคอมพิวเตอร์ ไม่ครบตามหลักเกณฑ์วิธีการ ที่ ก.ค.ศ.กาหนด 3) การจัดบุคลากรลงกรอบโดยไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ ก.ค.ศ. กาหนด พบว่า ย้ายตาแหน่ง บุคลากรไปเป็นตาแหน่งประเภทเดิม ระดับเดิม ทั้งที่มีตาแหน่งเดิมระดับเดิมที่สามารถจัดลงได้ ย้ายตาแหน่ง บุคลากรไปเป็นตาแหน่งประเภทเดิม ระดับเดิม ทั้งที่ไม่มีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนั้น จัดบุคลากรลงใน ตาแหน่งที่ต่างไปจากตาแหน่งตามกรอบอัตรากาลังที่ ก.ค.ศ. กาหนด 4) การกาหนดตาแหน่งไม่เป็นไปตาม เงื่อนไขที่ ก.ค.ศ. กาหนด พบว่า ไม่ได้รับอนุมัติกาหนดตาแหน่งจาก ก.ค.ศ. คุณวุฒิไม่เป็นไปตามมาตรฐานตาแหน่ง กาหนดตาแหน่งระดับชานาญการพิเศษ ไม่เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด และกาหนดตาแหน่งทดแทนตาแหน่ง ที่ตัดโอนไปในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอื่นแล้ว และไม่ได้เป็นตาแหน่งที่ ก.ค.ศ. กาหนดไว้ใน สถานศึกษา และ 5) การบรรจุผิดพลาด พบว่า การบรรจุเข้ารับราชการจากผลสอบแข่งขันได้ไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กาหนด และบรรจุผู้มีคุณวุฒิไม่เป็นไปตามมาตรฐานตาแหน่ง

2. แนวทางการบริหารจัดการการดาเนินงานเกี่ยวกับการบริหารบุคคลสาหรับตาแหน่ง บุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีจานวน 5 แนวทาง ได้แก่ 1) การเลื่อนระดับตาแหน่ง จะต้องพิจารณาถึงคุณสมบัติที่เป็นไปตามมาตรฐานตาแหน่ง และจะต้องดาเนินการ เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามหนังสือสานักงาน ก.พ. ที่ นร 1006/ว 10 ลงวันที่ 15 กันยายน 2548 2) การแต่งตั้ง จะแต่งตั้งให้ข้าราชการดารงตาแหน่งใด จะต้องพิจารณาถึงคุณสมบัติตรงตามมาตรฐานตาแหน่ง และระยะเวลาขั้นต่าในการดารงตาแหน่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด 3) การจัดบุคลากร ลงกรอบอัตรากาลัง จะต้องดาเนินการตามแนวทางที่ ก.ค.ศ. กาหนด และตามแนวทางที่สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด 4) การกาหนดตาแหน่งจะต้องกาหนดเป็นไปตามตาแหน่งและระดับตาแหน่งตาม เงื่อนไขที่ ก.ค.ศ.กาหนด 5) การบรรจุและแต่งตั้ง จะต้องพิจารณาถึงการดาเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ ก.ค.ศ. กาหนด และจะต้องบรรจุผู้มีคุณวุฒิเป็นไปตามมาตรฐานตาแหน่ง

3. ผลการยืนยันแนวทางการบริหารจัดการการดาเนินงานเกี่ยวกับการบริหารบุคคลสาหรับ ตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) จากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้มีประสบการณ์ ด้านกฎหมาย ด้านการบริหารงานบุคคล มีความเห็นว่า เป็นแนวทางที่สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง มีความถูกต้อง มีความชัดเจน โดยในแต่ละแนวทางมีหลักเกณฑ์และวิธีการที่อ้างอิงได้ถูกต้องและเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด โดยสอดคล้องกับ หลักปฏิบัติงานในการดาเนินการของสานักงาน ก.ค.ศ. และเป็นประโยชน์ต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็น อย่างยิ่ง

 

Development for Personnel Administration of Other Position in Section 38 c. (2) Under the Educational Service Area Office

The purposes of this research were to analyses the problems of the administration operation for personnel administration in other positions on section 38 c. (2) under Office of Educational Service Area, analyses the management guideline for personnel administration in other positions on section 38 c. (2) under the Office of Educational Service Area and estimate to confirm the management guideline for personnel administration in other positions on section 38 c. (2) under the Office of Educational Service Area. This research is the qualitative study. The data were analyzed by content analysis. There were 3 steps of this research operation: 1) studying the problems of the administration operation for personnel administration in other positions on section 38 c. (2) 2) exploring the management guideline for personnel administration in other positions on section 38 c. (2) and 3) confirming the management guideline for personnel administration in other positions on section 38 c. (2) under the Office of Educational Service Area.

This research found that :

1. the administration operation for personnel administration in other positions on section 38 c. (2) under Office of Educational Service Area dose not meet the rules and regulations developed by TEPC in 12 issues. It is also found 5 frequent issues out of 12 issues which consisted of 1) the incorrectness of position promotion which found that duration of work experiences did not meet the rules and regulations specified by TEPC 2) the incorrectness of the position appointment which found that: unqualified officers were appointed such in work periods did not meet the rules and regulations specified by TEPC especially for the positions of Legal Affairs and Computer Science 3) personnel arrangement dose not meet the conditions specified by TEPC which found as follows: some officers were moved to another section while there were same position and same level in the present section; officers were moved to another section while they were not qualified to that positions; and some officers were appointed in the positions that were not the positions provided according to the manpower frame specified by TEPC 4) the position determination dose not meet the conditions specified by TEPC which found that unqualified officers were not approved according to the position standard specified by TEPC such in the Senior Professional Level 5) the incorrectness of personnel appointment which found that the recruiters appointment system was not done according to the rules and regulations as well as position standard specified by TEPC.

2. The management guideline for personnel administration in other positions on section 38 c. (2) under the Office of Educational Service Area consisted of : 1) the guideline for position promotion which must be operated under the consideration according to the qualifications specified in position standard and the rules and regulations specified by office of the civil service commission number 1006/v 10 on 15 September 2005 2) the guideline for position appointment which must be operated under the consideration according to the qualifications and duration specified in position standard and the rules and regulations specified by TEPC 3) the guideline for personnel arrangement into the manpower frame must be operated according to the rules and regulations specified by TEPC and office of the basic education commission 4) the guideline for position determination which must be considered according to the positions and levels conditions specified by TEPC and 5) the guideline for personnel appointment which must be operated under the consideration according to the qualifications specified in position standard and the rules and regulations specified by TEPC

3. The experts in rules and regulations and personnel administration confirmed that the management guideline for personnel administration in other positions on section 38 c. (2) is practical, accurate, and clear. It can be refered to the correct rules and regulations as well as practice specified by TEPC with full benefits for the Office of Education Service Area.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)