จากตัวเงินตัวทองสู่สัตว์เศรษฐกิจ เรื่องจริงหรือเพ้อเจ้อ
คำสำคัญ:
ตัวเงินตัวทอง, สัตว์เศรษฐกิจ, การพัฒนา, การปรับปรุงพันธุ์, การเพาะเลี้ยงบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาตัวเงินตัวทองหรือเหี้ยสู่สัตว์เศรษฐกิจ และเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาเหี้ยสู่สัตว์เศรษฐกิจของประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันเหี้ยถือเป็น สัตว์เศรษฐกิจ อย่างหนึ่ง เหี้ยสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจได้ทั้งตัว ไม่ว่าจะเป็นเนื้อ หนังหรือเครื่องใน การส่งเสริมให้มีการเพาะเลี้ยงเหี้ยก็เพื่อนำเนื้อไปใช้ในการบริโภค และหนังไปทำเครื่องหนัง กระเป๋า เข็มขัด
แนวทางการพัฒนาเหี้ยสู่สัตว์เศรษฐกิจของประเทศไทย มีแนวทาง 3 ประการดังต่อไปนี้ 1) ในเชิงนโยบาย การเพาะเลี้ยงเหี้ยต้องได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ให้มีการศึกษาและพัฒนาปรับปรุงพันธุ์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเนื้อและหนังโดยให้มีผลผลิตหนังที่มีคุณภาพสูงขึ้นตรงความต้องการของตลาด 2) การปรับแก้กฎหมายของไทยให้การเลี้ยงเหี้ยถูกกฎหมายและสอดคล้องกับอนุสัญญาไซเตส 3) การเปลี่ยนแปลงทัศนคติในเรื่องของเหี้ย ให้คนไทยส่วนใหญ่มองเหี้ยว่าเป็นสัตว์เศรษฐกิจมากกว่ามองว่าเป็นสัตว์อัปมงคล โดยการจะเปลี่ยนแปลงทัศนคตินั้นจะต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อทำให้คนส่วนใหญ่จะเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
References
คม ชัด ลึก. (2552).”นุ่น"อึ้งเปลี่ยนชื่อตัวเงินตัวทองเป็น"วรนุช". ในคม ชัด ลึก. [Online], Available URL: https://www.komchadluek.net/news/lifestyle/19060
กินอยู่เป็น 360. (มปป). น่ารู้สำหรับคนชอบเหี้ย. ใน กินอยู่เป็น 360. [Online], Available URL: https://kinyupen.co/varanus/
MGR Online (2561). ‘สำรวจ “เหี้ย” หาผลกระทบต่อระบบนิเวศ.’ ใน MGR Online. [Online], Available URL: https://mgronline.com/science/detail/9610000055479
นริศ ภูมิภาคพันธ์. (2552). วารสารสัตว์ป่าเมืองไทย: สัตว์ในวังสระปทุม. ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Richard Shine, Peter S. Harlow, J. Scott. Keogh & Boeadi. (1996). Commercial harvesting of giant lizards: the biology of water monitors, Varanus salvator, in southern Sumatra. Biological Conservation 77, 125–134.
Emerson Y. Sy and Antonio N. Lorenzo II. (2020). ‘The Trade of Live Monitor Lizards (Varanidae) in the Philippines.’ In Biawak, 14(1&2), pp. 35–44.
วรัญญา เชาว์สุโข. (2016). สัตว์ที่ได้ชื่อว่า ‘เหี้ย’ ใน สารคดี [Online], Available URL: https://www.sarakadee.com/2016/09/21/water-moniter/ [June 2, 2021]
ไทยรัฐ ออนไลน์ . (2554). ‘ประโยชน์-โทษตัวเห้ ชื่อแย่แต่ราคาเยี่ยม!’ ใน ไทยรัฐออนไลน์. [Online], Available URL:https://www.thairath.co.th/content/200891 [June 5, 2021]
The Week. (2020). ‘Forget stocks – handbags have outperformed them all.’ In The Week. [Online], Available URL: https://www.theweek.co.uk/106417/forget-stocks-handbags-have-outperformed-them-all [June 2, 2021]
Nanchanok Wongsamuth. (2012). ‘Most hated lizard to become handbags.’ In Bangkok Post. [Online], Available URL: https://www.bangkokpost.com/learning/advanced/299965/most-hated-lizard-to-become-handbags [June4, 2021]
Martin Jenkins and Steven Broad. International Trade in Reptile Skin: A Review and Analysis of the Main Consumer Markets, 1983 – 91. [Online], Available URL: https://portals.iucn.org/library/sites/library/files/documents/Traf-013.pdf
แนวหน้า (2559). “เปิดมุมมองใหม่‘ตัวเงินตัวทอง’ ว่าที่‘สัตว์เศรษฐกิจ’ที่ยังต้องรอ” ใน แนวหน้า Online], Available URL: https://www.naewna.com/scoop/197180
เดลินิวส์ (2557). เรื่องเก่า..ฮือฮาใหม่!! 'หนังตะกวด' ราคาดี'เศรษฐีชอบ?' ในเดลินิวส์ [Online], Available URL: https://www.dailynews.co.th/article/272841
รุจิระ มหาพรหม. (2014). “แนวทางการศึกษาวิจัยของตัววารานัส (เหี้ย). ใน ฟาร์มวารานัส (เหี้ย) แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม.[Online], Available URL: http://varanusfarmku.circlecamp.com/index.php?page=aboutus
MGR Online (2556). ส่อง “ไซเตส” เวทีเจรจาค้าสัตว์ป่า ใน MGR Online [Online], Available URL: https://mgronline.com/science/detail/9560000023399
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย และบุคลากรท่านอื่นๆในกองบัญชาการฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว