การจัดการเรียนรู้ทัศนศิลปศึกษากับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

วิรัตน์ ปิ่นแก้ว

บทคัดย่อ

ในการจัดการเรียนรู้ทัศนศิลปศึกษากับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ถือเป็นสาระสำคัญสูงสุด เพราะจะเป็นแนวทางที่ทำให้ผู้สอนบรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรฐานการจัดการศึกษา แผนผังการจัดการเรียนรู้ทัศนศิลปศึกษากับการพัฒนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จะเป็นเครื่องมืออันสำคัญซึ่งเกิดจากการวิเคราะห์แนวคิดทฤษฎีพหุศิลปศึกษา ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 กิจกรรมการเรียนรู้ทางทัศนศิลป์ และความหลากหลายในมิติต่าง ๆ ของสังคมมากำหนดและบูรณาการเป็นกรอบความคิดเพื่อเป็นแนวทางที่จะทำให้ครูผู้สอนสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย และยังบรรลุเป้าหมายที่ต้องการจะประเมินทั้งด้านทักษะการสอนทัศนศิลปศึกษาและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อีกด้วย

Article Details

บท
ทัศนศิลป์

References

James Bellanca, และRon Brandt. (2554). 21st century skills : Rethinking how students learn [ทักษะแห่ง

อนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษ ที่ 21]. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส.

ประไพลิน จันทน์หอม. (2564). การศึกษาการจัดการเรียนรู้ศิลปะเพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารครุพิบูล, 8(2), 253-266.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2564). การศึกษาไทยในปัจจุบัน: ถึงเวลาของการคิดใหม่ คิดใหญ่ และทำทันที. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มะลิฉัตร เอื้ออานันท์. (2543). แนวโน้มศิลปศึกษาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุ

ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

มะลิฉัตร เอื้ออานันท์. (2545). ศิลปศึกษาแนวปฏิรูปฯ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิรุณ ตั้งเจริญ. (2545). แผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาพหุศิลปศึกษาสำหรับสังคมไทย: พหุศิลปศึกษา (Arts Education).

กรุงเทพฯ: สันติศิริการพิมพ์.

วิรุณ ตั้งเจริญ. (2548). ทัศนศิลปศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สันติศิริการพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้

แกนกลาง กลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะ. กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

สืบศักดิ์ สิริมงคลกาล. (2563). ศิลปศึกษาท่ามกลางรูปแบบการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2(2), 69-81.

แอมโบรส, ซูซาน เอ. และคณะ. (2556). How learning works : Seven research-based principles for smart

teaching [การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 : 7 หลักการสร้างนักเรียนรู้แห่งอนาคตใหม่]. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์.

Battelle for Kids. (2019). Frameworks & resources for 21st century learning. Retrieved November 3,

from https://www.battelleforkids.org/networks/p21/frameworks-resources

The College Board for the National Coalition for Core Arts Standards. (2011). Arts Education standards and 21st century skills: An analysis of the National Standards for Arts Education (1994) as compared to the 21st century skills map for the arts. Retrieved November 3, 2022 from https://www.nationalartsstandards.org/sites/default/files/College%20Board%20Research-%20%20P21%20Report.pdf