Cheats Methods, Communication Channels and Experience of Online Fraud in Deception of the Elderly in Chiang Rai Province

Main Article Content

กรกนก นิลดำ
อิงดอย ศรีลาพัฒน์
ภควัฒน์ สวนงาม
วรักษณ์กมล มงคลอัศศิริ
ปฐมพร ปัญญะติ
เสริมศิริ นิลดำ

Abstract

This research aimed to study the cheats methods, communication channels of online fraud in deception of the elderly and the experience of online fraud in deception of the elderly who have been deceived in Chiang Rai Province by using quantitative research method.


The population used in this study was the elderly groups, aged 50 years and over, from different
sub-districts of Chiang Rai Province while the sample size was 400 people. Questionnaire was used as a tools analyzed by statistical program by using descriptive analysis such as frequency, percentage and standard deviation.


    The research found that the methods and communication channels of online scammers in deception of the elderly in Chiang Rai Province, when considered individually, it was found that the most method used by online scammers was swindling by deceiving into joint investment in the manner of ponzi scheme about 30.5%, next was fraudulent transactions at ATMs in order to transfer money about 27.25% and the lowest was deceiving by using religion as a tool about 3.75%. The most deceitful channels were Facebook about 44%, followed by Line about 31.25% and the lowest was Instagram about 5.25%. and when the elderly realize that they have been deceived most of them use online postings to reveal frauds about 46.75% next was reporting to the police about 25.75% and the lowest was reimbursement about 6.5%

Article Details

Section
Research Article
Author Biographies

อิงดอย ศรีลาพัฒน์

นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการสื่อสารสื่อใหม่ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (2562)

ภควัฒน์ สวนงาม

นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาดิจิทัลมัลติมีเดีย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (2562)

วรักษณ์กมล มงคลอัศศิริ

นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาดิจิทัลมัลติมีเดีย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (2562)

ปฐมพร ปัญญะติ

นักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาดิจิทัลมัลติมีเดีย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (2562)

เสริมศิริ นิลดำ

ปร.ด. (สื่อสารมวชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2558) ปัจจุบันเป็น ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาขานิเทศศาสตร์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

References

กาญจนา แก้วเทพ และนิคม ชัยขุนพล. (2555). คู่มือสื่อใหม่ศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว. (2559). โซเชียลมีเดียหมายถึง. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2562, https://www.gotoknow.org/posts/.

จิราภรณ์ ศรีนาค. (2556). การวิเคราะห์ประเภท รูปแบบ เนื้อหา และการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2562, http://uc.thailis.or.th/Catalog/BibItem.aspx?BibID=b01653785

จุฑารัตน์ ประเสริฐ .(2557). พฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์กับการรับรู้ ตนเองและการสร้างสัมพันธ์กับผู้อื่นของผู้สูงอายุไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2562, http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46612.

พนม คลี่ฉายา . (2555). ความต้องการข่าวสาร การใช้สื่อ และนิสัยการเปิดรับสื่อของผู้สูงอายุไทย. สืบค้นเมื่อ

วันที่ 12 ตุลาคม 2562, http://library.cmu.ac.th/rsc/?newsdetail.php&id=654.

ช่อง 3. (2562). คลิปรายการข่าว. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2562, จาก http://www.news.ch3thailand.com

พิทักษ์ ศิริวงษ์ และบัณฑิตา อุณหเลขจิตร. (2560). การใช้สื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุในเขตตลาด ตำบลสามพราน อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2562, http://repository.rmutr.ac.th/bitstream/handle/123456789/748/rmutrconth_102.pdf?sequence=1&isAllowed=y.

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (กสทช.). (2562).

รู้เท่าทันสื่อ. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2562, จาก http://bcp.nbtc.go.th/uploads/items/attachments/b7bb35b9c6ca2aee2df08cf09d7016c2/_651dab51d77cc9cc0b46de8a418db8e7.pdf

ศักดิ์ชัย อัศวินอานันท์ .(2559). รูปแบบการฉ้อโกงในยุคปัจจุบัน. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2562, จากhttp://www.ago.go.th/articles_59/article_250559.pdf

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2562). ETDA เผย ปี 62 คนไทยใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 10 ชั่วโมง 22 นาที Gen Y ครองแชมป์ 5 ปีซ้อน. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2562, จาก https://www.etda.or.th

อัจฉรา เอ๊นซ์. (2550). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้สูงอายุไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2562, https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jiskku/article/view/6683.

อัญมณี ภักดีมวลชน. (2563). บุคลิกภาพ รูปแบบการใช้ประโยชน์ และการรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊กของผู้สูงอายุ. (วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต). สาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.