การศึกษาว่าด้วยเรื่องช่วงเวลาในการสร้างศาลเจ้าซำไนเก็งกรุงเทพฯ กับความสัมพันธ์ของชาวจีนแคะ

Main Article Content

อวิ๋นหลง อู๋

Abstract

ศาลเจ้าซำไนเก็ง(ศาลเจ้าซานไหน่)เป็นศาลเจ้าในเขตกรุงเทพฯ เพียงแห่งเดียวที่
บูชาเทพสตรีจีน 3 องค์ ประกอบด้วย เทพธิดาเฉิน เทพธิดาหลิน และเทพธิดาหลี่ ศาลเจ้า
แห่งนี้ตั้งอยู่เลขที่ 405 ถนนท่าดินแดง แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ปัจจุบันอยู่
ภายใต้การดูแลของสมาคมฮากกาแห่งประเทศไทย
ตามข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และคำบอกเล่าของชาวบ้านสันนิษฐานว่า
ศาลเจ้านี้สร้างขึ้นเมื่อพ.ศ.2390หรือก่อนหน้านี้เพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมทางความเชื่อที่
เกี่ยวข้องกับองค์เทพสตรีทั้งสาม
กล่าวกันว่า ความเชื่อของเทพสตรีทั้ง 3 เกิดขึ้นที่มณฑลฮกเกี้ยนของประเทศจีนซึ่งเป็น
หนึ่งในความเชื่อถือที่สำคัญของคนชาวฮากกาและชาวหมิ่นหนาน ที่อาศัยอยู่บริเวณภาค
ตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลฮกเกี้ยน รวมไปถึงทางภาคใต้ของมณฑลเจียงซี ภาคตะวันออก
ของมณฑลหูหนานและภาคเหนือของมณฑลกวางตุ้ง การนับถือเทพสตรีทั้ง 3 มีประวัติความ
เป็นมายาวนาน ทั้งนี้ความความเชื่อของเทพสตรีทั้ง 3 รวมถึงเทพศาสนสถานในการบูชาล้วน
มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับชาวจีนหรือชาวไทยเชื้อสายจีนซึ่งมีบรรพบุรุษอพยพมาจากมณฑล
ฮกเกี้ยนและมณฑลกวางตุ้ง นอกจากนี้ยังรวมถึงชาวจีนที่อพยพไปตั้งถิ่นฐานในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย


ดังนั้นหากจะระบุช่วงระยะเวลาที่แน่นอนในการสร้างศาลเจ้าแห่งนี้ในประเทศไทยจึง
ต้องเริ่มต้นจากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการนับถือเทพสตรีทั้ง 3 กับกลุ่มชาวจีนฮากกา
ที่อพยพเข้ามาในประเทศ ซึ่งต้องใช้หลักฐานที่ปรากฏอยู่ในศาลเจ้าแห่งนี้ อันประกอบด้วย
แผ่นจารึก คัมภีร์ อักษรจารึกบนระฆังและเอกสารต่างๆ เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา
กระทั่งประมวลให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับระยะเวลาในการสร้างของศาสนสถานแห่งนี้ที่ถูกต้อง

Article Details

Section
Articles

References

[美]安樂博 2015《試論嘉慶七年廣東省惠州府天地會起事》,張蘭馨譯,
自:中國人民大學清史研究所中國會黨史研究會編:《中國秘密社會與民
間文化:慶賀秦寶琦教授八秩華誕論文集》,福州:福建人民出版社。
陳思慧、鄭一省 2014《泰國的客家人與客屬總會》載《八桂僑刊》,南寧:
廣西民族大學出版社。
段立生 1996《泰國的中式寺廟》,曼谷:泰國大同社會出版有限公司。
房學家 1994《試論客家共同體的初步形成期》載《客家研究輯刊》,梅州:
嘉應學院客家研究所,第 1 期。
甘滿堂、楊姍姍 2013《女神與家事、國事:臨水夫人與媽祖的比較研究》載
《莆田學院學報》,莆田:莆田學院,第 01 期。
官桂銓 2016《陳靖姑身世與故事考》載《澳門陳靖姑文化論壇——首屆澳門
臨水夫人陳靖姑文化國際學術研討會文集》,北京:宗教文化出版社。
[美]何翠媚 1996《曼谷的華人廟宇:19 世紀中泰社會資料來源》陳麗華譯,
載《海交史研究》,泉州:中國海外交通史研究會泉州海外交通史博
物館,第 02 期。
(明)弘治 1991《八閩通志》卷五“祠祀·福州府·古田縣”,福建人民出版社。
黃素芳 2012《淺析曼谷王朝初期(1782-1910)泰國的華人方言群》載
《八桂僑刊》,南寧:廣西民族大學出版社,第 03 期。
(明)嘉靖 1963《建寧府志》卷二十“叢談”,上海古籍出版社影印明刻本。
客總資料室整理 2007《客總轄下六座神廟保管沿革史》載《泰國客家人——
泰國客家總會慶祝 80 週年會慶特刊》,曼谷:泰國客家總會。
[泰]黎道剛 2001《華人移民泰國及其對社會的貢獻》載《泰中學刊
(2001 年卷)》,曼谷:泰中學會。
李恩涵 2015《東南亞華人史》,北京:東方出版社。
李輝、潘悟雲、金力等 2003《客家人起源的遺傳學分析》載《遺傳學報》
第 30 卷,北京:科學出版社。
梁德新、陳干華、劉斯 2006《鄒論全國客家大縣博白縣客家人的界定》載
《2006 年博白客家文化節暨客家文化論壇論文集》,博白:博白縣政府。
廖楚強 1998《東南亞客家社會的回顧與展望》載《海交史研究》,泉州:中
國海外交通史研究會泉州海外交通史博物館,第 02 期。
林江珠等 2014《閩臺民間信仰傳統文化遺產資源調查》載《廈門大學出版社》。
林曉平 2012《客家民間信仰與民俗文化》,北京:中國社會科學出版社。
廬均元、古柏生編譯 2007《客總會史》載《泰國客家人——泰國客家總會慶
祝 80 週年會慶特刊》,曼谷:泰國客家總會。
(清)施鴻保 1985《閩雜記》卷五“陳夫人”,年福建人民出版社。
吳雲龍 2017《泰國曼谷的客家神廟與客家族群認同探析》載《八桂僑刊》,
南寧:廣西民族大學出版社,第 01 期。
謝重光、鄒文清 2011《三聖妃信仰與三奶夫人信仰關係試析》載
《文化遺產》,廣州:中山大學中國非物質文化遺產研究中心,第 04 期。
謝重光 2013《閩西客家社會與文化》,北京:人民出版社。
徐中熙 2001《論泰華客家人的歷史》載《泰中學刊(2001 年卷)》,曼谷:
泰中學會。
葉明生 2010《臨水夫人與媽祖信仰關係新探》載《世界宗教研究》,北京:
中國社科院世界宗教研究所,第 05 期。
葉明生 2010《論臨水夫人信仰文化在海內外的傳播》載《世界宗教研究》,
北京:中國社科院世界宗教研究所,第 05 期。
葉明生 2016《澳門臨水夫人信仰源流與發展調查及考探》載
《澳門陳靖姑文化論壇——首屆澳門臨水夫人陳靖姑文化國際學術研討
會文集》,北京:宗教文化出版社。
葉明生、林國平 2016《媽祖信仰與臨水夫人信仰的比較研究》載《澳門陳靖
姑文化論壇——首屆澳門臨水夫人陳靖姑文化國際學術研討會文集》,
北京:宗教文化出版社。
余定邦、喻常森等 1999《近代中國與東南亞關係史》,廣州:中山大學出版社。
張仲木 2001《吞武里王朝時代的泰中經濟貿易關係》載《泰中學刊
(2001 年卷)》,曼谷:泰中學會。
[泰]鐘福安 1998《泰國華人社會的形成述論》,北京:北京語言文化大學。
鐘晉蘭 2016《三奶夫人信仰與地方社會——以廣東河源與惠州的田野考察為
重點分析》,澳門陳靖姑文化論壇——首屆澳門臨水夫人陳靖姑文化
國際學術研討會文集》,北京:宗教文化出版社。
鐘聲宏、黃德權 2007《中國大陸客家人居的空間分佈及群體特質》載
《廣西民族研究》,南寧:廣西民族大學,第 4 期。
朱培建 2017《佛山明清時期鐵鐘的初步究》
http://www.foshanmuseum.com/wbzy/xslw_disp.asp?xsyj_ID=36
(佛山市博物館網>學術研究>文物研究)
Surachet Srisuchat. 2016. Chinese: the Faith of Bangkok. Thailand
Department of city planning, Bangkok Metropolitan.