การศึกษาความยากง่ายในการเรียนรู้การจำแนกความต่างคำความหมายใกล้เคียงในภาษาจีนของนักศึกษาไทยในแต่ละระดับ

Main Article Content

ฉายจวิน หลิน

Abstract

งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาสภาพการเรียนรู้วิธีการใช้คาความหมายใกล้เคียงในภาษาจีนของนักศึกษาไทยโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงประจักษ์ ผลการวิจัยพบว่า โดยภาพรวมของนักศึกษาไทยมีการเรียนรู้คาความหมายใกล้เคียงในภาษาจีนอยู่ในเกณฑ์ธรรมดา เมื่อระดับความรู้ทางภาษาจีนสูงขึ้นการเรียนรู้จะง่ายขึ้นตาม นักศึกษาไทยส่วนใหญ่มีการเรียนรู้คำที่มีความหมายต่างได้ดีกว่าคำใกล้เคียงที่มีรูประโยคและสถานการณ์ที่ใช้แตกต่างกัน สามารถจำแนกระดับความยากง่ายในการเรียนรู้คำความหมายต่างจากง่ายไปยากมีลำดับดังนี้ ระดับของความหมาย < รูปแบบต่าง < ใช้ความหมายให้เหมาะสม < ลักษณะทางไวยากรณ์ < รูปแบบประโยค ≤ ตำแหน่งและข้อจำกัดในประโยค < ความหมายต่าง ≤ ความหมายแสดงอารมณ์ ระดับความยากในการเรียนรู้และการจำแนกความต่างคำความหมายใกล้เคียงในประเภทต่างๆ ของนักศึกษาไทยมีความสัมพันธ์กันอย่างเห็นได้ชัดเจน แต่ความสัมพันธ์กับระดับความรู้ทางภาษาจีนยังไม่เด่นชัด นอกจากนี้ผู้เรียนในแต่ละระดับชั้นมีการเรียนรู้ในการจำแนกความต่างของคำความหมายใกล้เคียงอย่างเฉพาะตัว

Article Details

Section
Articles

References

敖桂华2008《对外汉语近义词辨析教学对策》载《汉语学习》第3期,106-109。
陈松青2013《中高级阶段泰国学生汉语近义词习得偏误分析》,硕士论文,
广西民族大学。
陈夏瑾2013《阿拉伯学生汉语近义词习得偏误及教学模式研究——以义乌工
商学院为例》载《现代语文》,第8期,137-139。
洪炜2012《汉语二语者近义词语语义差异与句法差异的习得研究》载《语言
教学与研究》,第3期,18-26。
洪炜2016《近义词五种差异类型的习得难度考察》载《华文教学与研究》,
第2期,10-18。
洪炜、陈楠2013《汉语二语者近义词差异的习得考察》,《语言文字应用》,
第2期,99-106。
洪炜、赵新2014《不同类型汉语近义词习得难度考察》,《汉语学习》,
第3期,100-106。
柯露晞 2007《留学生近义词习得研究》,硕士论文,中山大学。
李绍林2010《对外汉语教学词义辨析的对象和原则》载《世界汉语教学》,
第3期,406-414.
梁智焕2011《韩国中级学习者近义词习得偏误分析》,硕士论文,
上海师范大学。
林志平2015《泰国中高级汉语水平学习者近义词习得偏误考察——以泰国博
仁大学为例》,硕士论文,中央民族大学。
刘春梅2007《留学生单双音同义名词偏误统计分析》载《语言教学与研究》,
第3期,36-42。
刘缙1997《对外汉语近义词教学漫谈》载《语言文字应用》,第1期,18-22。
陆方喆2016《基于语料库的对外汉语近义词教学》载《云南师范大学学报》
(对外汉语教学与研究版),第5期,49-56。
罗青松1997《英语国家学生高级汉语词汇学习过程的心理特征与教学策略》
载《第五届国际汉语教学讨论会论文选》,北京:北京大学出版社。
麦新2013《泰国学生汉语习得近义词偏误分析——以宋卡王子大学
学生为例》,硕士论文,广西大学。
潘美莲2011《老挝留学生使用汉语近义词偏误分析》,硕士论文,云南大学。
卿雪华2004《留学生汉语习得近义词偏误研究——以泰国学生为例》,
硕士论文,云南师范大学。
藤村泰成2013《日汉同形近义动词比较研究及教学建议》,硕士论文,
上海外国语大学。
王分年2009《中级阶段越南留学生使用同义动词的偏误分析》,硕士论文,
广西民族大学。
王璐2016《中高级阶段泰国留学生汉语近义动词使用偏误分析——以云南大
学留学生为例》,硕士论文,云南大学。
吴向华2005《同义词在阅读过程中的预测功能》载《对外汉语阅读研究》,
北京: 北京大学出版社.
薛杨、刘锦城2016《第二语言(汉语)教学近义词区别项目习得难易度
调查》,汉语学习,第4期,95-102。
杨寄洲2004《课堂教学中怎么进行近义词语用法对比》,世界汉语教学,
第3期,96-104。
杨寄洲2006《汉语教程》(修订版),北京: 北京语言大学出版社。
张博2008《基于中介语语料库的汉语词汇专题研究》,北京: 北京大学出版社。
张志毅1980《同义词词典编纂法的几个问题》载《中国语文》,
第5期,353-362。
赵卜嬉2014《中高级韩国汉语学习者近义动词习得偏误分析》,硕士论文,
华东师范大学。
赵新、洪炜、张静静2014《汉语近义词研究与教学》,北京: 商务印书馆。
赵新、李英2009《商务馆学汉语近义词词典》,北京: 商务印书馆。
赵新、刘若云2005《编写<外国人实用近义词词典>的几个基本问题》载
《辞书研究》,第4期,57-67。
郑儒忆2012《中级水平印尼学生汉语近义动词习得偏误研究》,硕士论文,
中山大学。
周嘉莅2011《现代汉语“不”和“没”之汉泰对比分析与教学活动设计》,
硕士论文,国立台湾师范大学。
周祖谟1962《汉语词汇讲话》,北京: 外语教学与研究出版社。
Ellis, R. 1994. The Study of Second Language Acquisition. Oxford: Oxford
University Press.
Hatch, E. 1983. Psycholinguistics: A second language perspective. Rowley,
MA: Newbury House.
Jiang, N. 2000. Lexical Representation and Development in a Second
Language. Applied Linguistics, 21 (1), 47-77.
Schmidt, R. W. 1990. The Role of Consciousness in Second Language
Learning. Applied Linguistics, 11(2), 129-158.
Wickens, C. D. 2007. Attention to the Second Language. International Review
of Applied Linguistics, 45(3), 177-192.
เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. (2547). พจนานุกรมจีน-ไทย. พิมพ์ครั้งที่13. กรุงเทพฯ: รวมสาสน์.