การเมืองเรื่องเพศสถานะในนวนิยายโรมานซ์ข้ามเชื้อชาติไทย-จีน
Main Article Content
Abstract
บทความนี้มุ่งศึกษานวนิยายโรมานซ์ข้ามเชื้อชาติไทย–จีน เรื่อง กนกลายโบตั๋น
ของศรีฟ้า ลดาวัลย์ในฐานะตัวบทวัฒนธรรมที่น าเสนอการเมืองเรื่องเพศสถานะที่ประสานกับ
ประเด็นแวดล้อม ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า กนกลายโบตั๋น ใช้การเมืองเรื่องเพศสถานะใน
มิติที่สัมพันธ์กับอุดมการณ์ทางการเมืองอันแตกต่าง การเมืองเรื่องชนชั้น และการเมืองเรื่อง
ชาติพันธุ์ในการสร้างสิ่งกีดขวางในฐานะองค์ประกอบหนึ่งของโรมานซ์ การเมืองเรื่อง
เพศสถานะในมิติอันหลากหลายกระทบต่อตัวละครเอกและความสัมพันธ์ที่มีต่อตัวละครอื่น
ความคลี่คลายของโครงเรื่องแบบโรมานซ์ใน กนกลายโบตั๋น จึงหมายถึงการที่ตัวละครเอก
หญิงต้องปลดปล่อยตัวเองจากกรอบคุมขังภายในบริบทวัฒนธรรมไทย ความสัมพันธ์ไทย-จีน
ที่ปรากฏภายในเรื่องจึงมีความหมายทางการเมืองมากกว่าการปะทะกันระหว่างโลก
คอมมิวนิสต์กับโลกเสรีนิยมประชาธิปไตย
Article Details
ผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลิขสิทธิ์ของผู้เขียนหรือผู้แปลผลงานนั้น หากนำลงในวารสารจีนศึกษาเป็นครั้งแรก เจ้าของผลงานสามารถนำไปตีพิมพ์ซ้ำในวารสารหรือหนังสืออื่นได้โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่หากผลงานที่ได้รับพิจารณานำลงในวารสารจีนศึกษา เป็นผลงานที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาก่อนเจ้าของผลงานต้องจัดการเรื่องปัญหาลิขสิทธิ์กับแหล่งพิมพ์แรกเอง หากเกิดปัญหาทางกฎหมาย ถือว่าไม่อยู่ในความรับผิดชอบของวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทั้งนี้ ความคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวกับกองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
References
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. 2558. เราใช่เขา?: ภาพเสนอของคนจีนในวรรณกรรมไทยศตวรรษที่ 20.
ใน อ่านจนแตก วรรณกรรม ความทันสมัย และความเป็นไทย. แปลโดย พงษ์เลิศ
พงษ์วนานต์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อ่าน.
นัทธนัย ประสานนาม. 2559. ศัตรูที่รัก: คุณค่าสงครามกับสงครามคุณค่าใน คู่กรรมของ
ทมยันตี. ใน สุรเดช โชติอุดมพันธ์. (บรรณาธิการ), ถกเถียงเรื่องคุณค่า,
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิภาษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
นิษฐา จันทปัญญาศิลป์. 2541. พฤติกรรมจริยธรรมของตัวละครเอกชาวจีนในนวนิยายไทย.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พัชรี วราศรัย. 2537. นวนิยายที่เสนอภาพสังคมชาวจีนในเมืองไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต. หน่วยวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
เพ็ญนภา หมอนสอาด. 2550. ภาพลักษณ์ของชาวจีนในเมืองไทยที่ปรากฏในนวนิยายไทย
พ.ศ. 2512–2533. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะ
อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. 2545. พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมอังกฤษ-ไทย.กรุงเทพฯ:
ราชบัณฑิตยสถาน.
ราชบัณฑิตยสถาน. 2554. พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5
ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์.
ศรีฟ้า มหาวรรณ์, ม.ล. 2557. ชีวิต ความคิด และนวนิยาย.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรโสภณ.
ศรีฟ้า ลดาวัลย์. 2552. กนกลายโบตั๋น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พิมพ์คำ.
สุชาวดี เกษมณี. 2555. วรรณกรรมที่สะท้อนอัตลักษณ์จีนในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์
ปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ภาษาอังกฤษ
Zarchi, A. M. 2011. Ethinc Chinese women in Thai novels : the negotiation of
identity, gender and generational transitions. Doctoral dissertation.
Department of Thai Studies, Faculty of Arts Chulalongkorn University.