การตอบรับวรรณกรรมจีนสมัยใหม่ของผู้อ่านไทย
Main Article Content
Abstract
บทบาทของผู้อ่านไทยมีความสำคัญต่อการเผยแพร่วรรณกรรมจีนสมัยใหม่ในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเข้าใจในตัวบท ประสบการณ์ในการอ่าน การเสพวรรณศิลป์และตระหนักถึงคุณค่าในผลงานวรรณกรรมแต่ละชิ้น บทความนี้จึงมุ่งใช้ทฤษฎี “สุนทรียศาสตร์แห่งการรับรู้” ของ Wolfgang Iser และ Robert Jauss เพื่อวิเคราะห์ว่าผู้อ่านไทยมีการเสพรับวรรณกรรมจีนสมัยใหม่อย่างไร และเน้นการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับผลตอบรับของผู้อ่านไทยที่มีต่อวรรณกรรมจีนสมัยใหม่
泰国读者对中国现代文学的接受
中国文学在泰传播与存在的关键,在于读者对作品的理解,读者的主观意识在阅读时吸取并接受作品中的精神食粮、美学和艺术修养中起着主导作用。本文将以伊瑟尔和尧斯的“接受理论”,解读泰国读者如何接受中国现代文学作品,并关注泰国读者是否认同所阅读的作品及所做出的种种反应。
The Reception of Modern Chinese Literature by Thai’s Readers
The influence of Modern Chinese literature in Thailand's depends on the value of the work itself and reader’s demand. The dissemination of modern Chinese literature in Thailand is concerned with readers’ understanding. Subjective consciousness of the reader in reading progress played an important role in attention to the recipient in the artistic production and accomplishment reception. This article aimed to discuss how Thai’s people accept Chinese literary works by Wolfgang Iser and Jauss's" aesthetic reader response theory" approach. It also focused on the readers' interaction with Chinese literary works.
Article Details
ผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลิขสิทธิ์ของผู้เขียนหรือผู้แปลผลงานนั้น หากนำลงในวารสารจีนศึกษาเป็นครั้งแรก เจ้าของผลงานสามารถนำไปตีพิมพ์ซ้ำในวารสารหรือหนังสืออื่นได้โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่หากผลงานที่ได้รับพิจารณานำลงในวารสารจีนศึกษา เป็นผลงานที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาก่อนเจ้าของผลงานต้องจัดการเรื่องปัญหาลิขสิทธิ์กับแหล่งพิมพ์แรกเอง หากเกิดปัญหาทางกฎหมาย ถือว่าไม่อยู่ในความรับผิดชอบของวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทั้งนี้ ความคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวกับกองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์