การเปรียบเทียบคุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์ของคำกริยาแสดงทัศนภาวะ “能、会、可以”ในภาษาจีนกับคำว่า “ได้”ในภาษาไทย

Main Article Content

สุดาวดี ถาวงษ์กลาง

Abstract

งานวิจัยนี้ได้วิเคราะห์เปรียบเทียบคุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์ของคำกริยาแสดงทัศนภาวะ“能、会、可以”กับคำว่า “ได้” ว่ามีลักษณะที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ข้อที่น่าสังเกตคือ คำกริยาแสดงทัศนภาวะ “ได้”สามารถปรากฏเป็นคำกริยาช่วยหน้าหรือหลังกริยาก็ได้ เมื่อปรากฏเป็นคำช่วยหน้าจะมีความหมายว่า “มีโอกาส”(นววรรณ:2527) เมื่อปรากฏเป็นคำช่วยหลังกริยาจะมีความหมายว่า “สามารถ อนุญาต” ซึ่งคำช่วยหลังกริยานี้มีความหมายตรงกับคำว่า“能、会、可以”ในภาษาจีน ภาษาไทยและภาษาจีนมีลักษณะโครงสร้างทางวากยสัมพันธ์หลักที่เหมือนกันคือ “ประธาน-กริยา-กรรม” แต่มีลักษณะโครงสร้างของคำขยายที่ต่างกันซึ่งผู้วิจัยจะได้เสนอลักษณะทางวากยสัมพันธ์ของคำกริยาแสดงทัศนภาวะเหล่านี้ในบทย่อยต่อไป

 

汉泰情态动词“能、会、可以”与“ได้(Dai)”的句法结构比较研究

汉语和泰语的句法结构具有共同特征又有不同的特点。汉语和泰语都是S-V-O结构,而汉语的定语和状语位于中心语之前,泰语定语和状语却出现在中心语之前,有时候出现在中心语之后,情态动词也不例外。汉语“能、会、可以”能出现在“X不X”格式而“ได้(Dai)”没有这种格式,“ได้(Dai)”可以出现在“不结构+Modal”,而汉语“能、会、可以”却不行。为了解决这个问题,本文将探讨“能、会、可以”与“ได้(Dai)”的句法结构特征,查出它们的异同特征。

 

A comparative analysis on the grammatical of modals “Neng,Hui,Keyi” in Mandarin and “DAI” in Thai

This article is about a comprehensive comparison analysis of “DAI” in modal Thai and “Neng,Hui,Keyi” of modern Chinese in grammatical representations has been established, Syntactic functions and other aspects in term of syntax theory. This paper aims at comparing the similar and the differences of sentence structure between “DAI” of Thai and “Neng,Hui,Keyi” of Chinese. This research finding not only could assist Thai student in mastering the three modal verbs – “Neng,Hui,Keyi” of Chinese, but also provide reference in teaching Thai and Chinese.

Article Details

Section
Articles