การศึกษาเรื่องความแพร่หลายภาษาถิ่นของจีนในประเทศไทยและ การใช้ประโยชน์จากภาษาถิ่นของจีนในการแปลวรรณกรรมภาษาจีน เป็นภาษาไทย:ศึกษาตัวอย่างจากเรื่องสั้นของหลู่ซุ่นฉบับภาษาไทย

Main Article Content

สุพัตรา ห.เพียรเจริญ

Abstract

ในจำนวนชาวจีนที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยจำนวนมากชาวจีนแต้จิ๋วมีจำนวนมากที่สุดรองลงมาคือชาวจีนฮกเกี้ยนภาษาจีนแต้จิ๋วและภาษาจีนฮกเกี้ยนทิ้งร่องรอยเอาไว้ในภาษาไทยอย่างลึกล้ำด้วยเหตุนี้คำยืมในภาษาไทยที่มีรากฐานมาจากภาษาจีนท้องถิ่นจึงมีความสำคัญต่อภาษาไทยเป็นอย่างยิ่งคำยืมเหล่านี้ไม่เพียงเป็นหลักฐานสนับสนุนในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงพัฒนาสังคมท้องถิ่นในแง่ประวัติศาสตร์เท่านั้นแต่ยังสะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นระหว่างไทยและจีนทั้งในด้านสังคมและวรรณกรรมอีกทั้งยังช่วยคงอรรถรสแก่ผู้อ่านวรรณกรรมจีนฉบับภาษาไทยได้อย่างดีเยี่ยมประโยชน์เหล่านี้สามารถพบเห็นได้ชัดในงานวรรณกรรมของหลู่ซุ่นฉบับภาษาไทยหากมองในมุมของความสัมพันธ์ระหว่างภาษาศาสตร์เชิงสังคมภาษาศาสตร์ประยุกต์และผลงานวรรณกรรมจะเห็นได้ว่านอกจากภาษาจีนท้องถิ่นจะทำให้ผู้อ่านวรรณกรรมจีนฉบับภาษาไทยซึมซับกลิ่นอายความเป็นวรรณกรรมจีนได้อย่างดีแล้วยังสามารถรับรู้ได้ถึงสัญลักษณ์ทางภาษาที่แฝงกลิ่นอายสังคมและวัฒนธรรมจีนอันลึกซึ้งไว้อีกด้วย

 

汉语方言在泰国的流传与其对中国文学泰译的作用 ——以鲁迅小说泰译本为例

移民到泰国的中国人很多,潮州人最多,福建人次之。潮州话和闽南话因而在泰语中留下了很深的印迹。泰语汉源方言借词在泰语占有重要的地位。在历史的维度上,这些借词给我们提供了当地社会发展演变的好文献,反映了中泰两国之间的来往友谊。在文学的维度上,给中国文学作品泰译本的读者感受中国味儿提供了载体。这些作用在鲁迅小说泰译本中表现得特别明显。从社会语言学、语言应用和文学作品之间的关系可见,汉语方言在文学作品泰译本能够使读者更好地欣赏中国文学,并且能够感受到语言符号所包含的社会文化信息。

 

The Spread of Chinese Dialects in Thailand and Its Effects on Chinese Literary Translation into Thai — taking the Thai version of Lu Xun's novels for example

There are many Chinese families moved to Thailand, among whom the majority are Chaozhou people, while Fujian people taken second place. Teochew and Hokkien (dialects of Chaozhou and Fujian) naturally left a deep imprint in Thai. Therefore, Chinese dialects loanwords in Thai can prove that Chinese dialects do occupy an important position in Thai and Thailand. For these loanwords can not only provide us with good literature of development evolution of the local society in history, reflecting the friendship between China and Thailand; but also can give the Thai version readers of Chinese literary works a sense of Chinese flavor in literature.  All the functions can be seen obviously in Thai version of Lu Xun's novels.  It also can be found from the relationships between social linguistics, language application and the literature, that Thai versions of literary works with Chinese dialects can make readers better to appreciate the Chinese literature, and be able to feel social cultural information contained in the language symbols.

Article Details

Section
Articles