การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดการเรียนคำเสริม “吗” ในภาษาจีนของนักเรียนไทย โดยการใช้ทฤษฎีจิตวิสัยทางภาษา

Main Article Content

บัณศิกาญจ ตั้งภากรณ์

Abstract

คำเสริมในประโยคภาษาจีนเป็นคำที่ช่วยแสดงเจตนาและท่าทีของผู้พูด  และยังมีความสำคัญต่อไวยากรณ์จีนอีกด้วย ถ้าหากผู้ศึกษาทางภาษาศาสตร์และผู้ที่เรียนภาษาจีนในฐานะภาษาที่สอง ไม่เข้าใจความหมายทางไวยากรณ์ของคำเสริมอย่างแท้จริง อาจก่อให้เกิดปัญหาด้านการเรียนและการสื่อสารภาษาจีนได้  ดังนั้นผู้วิจัยจึงศึกษาลักษณะเฉพาะของคำเสริม  “吗”ในท้ายประโยคภาษาจีนเป็นกรณีศึกษา  โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างความหมายของคำเสริม“吗” ในท้ายประโยคภาษาจีน  กับความหมายของคำเสริม  “ไหม[maj24], “มั้ย”[maj45], “หรือ”[rui:24]  และ“เหรอ”[rɤː24] ในท้ายประโยคภาษาไทย  ซึ่งจากการศึกษาพบว่า  คำเสริมท้ายประโยค “吗” ในภาษาจีน  กับคำเสริมท้ายประโยคในภาษาไทยทั้ง 4 คำ ดังกล่าวนั้น  บางกรณีสื่อความหมายได้ตรงกัน เนื่องจากโครงสร้างทางภาษาและแหล่งกำเนิดของภาษาที่มีลักษณะคล้ายกัน แต่บางกรณีสื่อความหมายได้ไม่ตรงกัน เกิดจากปัจจัยภายในและภายนอก จึงก่อให้เกิดลักษณะเฉพาะของแต่ละภาษาขึ้น  ส่งผลให้นักเรียนไทยใช้คำเสริมท้ายประโยค“吗” ในภาษาจีนไม่ถูกต้อง  ซึ่งจากการใช้ทฤษฎีจิตวิสัยในการวิเคราะห์สาเหตุของความผิดพลาด พบว่าเกิดขึ้นจาก 2 สาเหตุ คือ ความซับซ้อนของความหมาย  และความแตกต่างทางสังคมของการใช้ภาษา  

 

基于“语言主观性”视角下的泰国学生习得汉语语气 词“吗”的偏误分析

语气词一直是汉语表情达意的主要手段之一,也是汉语中的重要语法手段,但由于其语法意义空灵,不好把握、不易捉摸,给语言研究者和第二语言学习者带来了一定的困难。本文以典型的汉语句末语气词“吗”为例,还将典型的汉语句末语气词“吗”与泰语中对应的词“ไหม[maj24]“มั้ย”[maj45]、“หรือ”[rui:24] 、“เหรอ”[rɤː24]相比较,进行对比分析。通过对比分析可以看出,汉语句末语气词“吗”与泰语中的4个对应词的语气意义并不完全相同,有的是相同点主要来自汉语与泰语的语言共性,可从语言的结构和语言的来源。不同点主要来自语言的个性,这可从语言内部因素和语言外部因素区分。由此,泰国学生在使用或习得汉语句末语气词“吗”的过程中往往出现语言偏误现象。本文对以泰语为母语的学生混用汉语句末语气词“吗”的偏误现象进行归纳和分析,试图借鉴认知科学的“主观性”理论对偏误现象作出解释。这种误漏从主观性理论来看,主要有两个原因:一种是语气词的原因,这方面的原因是深刻而复杂的。另一种是社会心理原因,为了达到一定的交际目的,每一种语言都有一套适用于一定交际场合的、具有一定交际功能的话语。 

 

Thai Students' Acquisition to the error analysis of Chinese Modal particles “吗”---- “Language subjectivity” The interpretation of perspective

Modal particles have always been one of the main means for expressing Chinese emotion; it is also an important part of Chinese grammars. The lack of grammatical competence and communicative competence in modal particles can cause difficulties to researchers and second language learners. This paper mainly focused on analyzing “吗”, a typical Chinese modal particle at the end of the sentence, which was also compared with the corresponding Thai words “ไหม[maj24], “มั้ย”[maj45], “หรือ”[rui:24] and “เหรอ”[rɤː24] The result showed that the meaning of the four modal particles can sometimes be the same for both Chinese and Thai because of the similar structure and origin of the languages. But they can also mean differently according to the intrinsic and extrinsic factors. Therefore, there are some specific characteristics and differences in each language that can cause the mistakes of using the modal particles in Chinese language of Thai students. The “Subjectivity” theory was then used to analyze causes of the mistake. The analysis results can be concluded that there are two main reasons for these mistakes. The first one is the complexity of the meaning and the other one is the social or cultural differences of language use between the two languages.

Article Details

Section
Articles