论古汉语定语的结构类型

Main Article Content

刘雅贤 -

Abstract

殷商甲骨文时代,汉语中的定语多为单音节词,词组并不多。周秦 至两汉时期,汉语定语有了很大的发展。名词、形容词、数量词、动词、副 词、词组都能充当定语外,还有多定语和各种词组或句子形式的复杂定语也 能充当定语。本文从古代定语语法特点分析,把定语类型分为一般定语(定 语+中心词)、定语后置(中心词+定语)、中心词的省略及定语的省略四个 方面,研究对象用于古代文学作品。通过研究发现汉语变化多端的定语结构 形式,在保持语句深层语义关系不变的情况下,使得语言表达顺利流畅,文 句的风格色彩丰富。

 

การวิเคราะห์รูปแบบโครงสร้างของหน่วยขยายนามภาษาจีนโบราณ

ตัวอักษรบนกระดองเต่าในยุคสมัยราชวงค์อินซาง หน่วยขยายนามในภาษาจีน ส่วนมากเป็นคำพยางค์เดียว มีเป็นวลีส่วนน้อยมาก สมัยราชวงศ์โจว ฉินจนถึงราชวงศ์ฮั่น ตะวันตกและฮั่นตะวันออก หน่วยขยายนามได้มีการพัฒนาเป็นอย่างมาก นอกจากคำนาม คำคุณศัพท์ คำบอกจำนวน ลักษณนาม คำกริยา คำวิเศษณ์ และวลีสามารถใช้เป็นหน่วย ขยายนามได้แล้ว ก็ยังมีหน่วยขยายนามซับซ้อนและหน่วยขยายนามในรูปแบบประโยคหรือ วลีต่างๆก็ยังสามารถทำหน้าที่เป็นหน่วยขยายคำนามได้ บทความนี้มุ่งศึกษาลักษณะพิเศษ ของหน่วยขยายนามสมัยโบราณ ซึ่งแบ่งเป็น 4 ประเภท ได้ดังนี้ คือ หน่วยขยายนามทั่วไป (หน่วยขยายคำนาม+คำหลัก) หน่วยขยายนามอยู่ด้านหลัง (คำหลัก+หน่วยขยายนาม) การ ละเว้นคำหลัก และการละเว้นหน่วยขยายนาม ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้มาจาก วรรณกรรมจีนโบราณ ผลจากการวิจัยพบว่ารูปแบบโครงสร้างหน่วยขยายนามในภาษาจีนมี การเปลี่ยนแปลงหลากหลาย ทำให้ภาษาสามารถสื่อความหมายได้อย่างราบรื่นคล้องจองกัน และมีรูปแบบประโยคหลากหลาย แต่ก็ยังคงรักษาสภาพของความสัมพันธ์ของความหมายเชิง ลึกในประโยคไว้ได้เหมือนเดิม

 

The classify of ancient Chinese attributive structure Analysis

In the Shang Dynasty Oracle era, the words in the Chinese attributive were mostly single-syllable words, without too many phrases. From Zhou Qin to the Han Dynasty, Chinese attribute had been developed greatly. Not only nouns, adjectives, quantifiers, verbs, adverbs and phrases but also multiple attribute, various phrases and complex attribute in sentence forms can act as attributive. From the ancient attributive syntax characteristics analysis, this paper divides the attributive type into four aspects: general attributive (attributive + center), rear attributive (attributive +center), the center word omission and attributive omitted. The study object is the ancient literature works. The study finds that the variable Chinese attributive structures, under the condition of invariable in keeping the statements in the deep semantic relations, make the language expression smooth and the language style colorful.

Article Details

Section
Articles