泰国学生习得汉语三项定语的研究
Main Article Content
Abstract
การศึกษาการเรียนรู้หน่วยขยายซับซ้อนในภาษาจีนกลางของนักเรียนไทย
บทความฉบับนี้เป็นการสำรวจการใช้หน่วยขยายซับซ้อนในไวยากรณ์สากลของ ภาษาจีนกลาง สำหรับผู้ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาแม่ ทำการวิเคราะห์บทบาทของภาษาแม่ที่มี ต่อการใช้หน่วยขยายดังกล่าว จากการศึกษาพบว่า นักศึกษาชาวไทยมีลักษณะและกฎเกณฑ์ การใช้ที่แน่นอน สำหรับผู้ที่เริ่มเรียนภาษาจีน ไวยากรณ์ของภาษาในระหว่างจะมีลักษณะเด่น ของภาษาแม่ เมื่อภาษาจีนมีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ ไวยากรณ์ของภาษาในระหว่างก็จะเปลี่ยน ไปสู่ภาษาที่สอง จนในที่สุดก็ใช้ภาษาจีนได้อย่างถูกต้อง ด้วยเหตุนี้ผู้เขียนจึงคิดว่าภาษาแม่มี บทบาทมากในการเรียนภาษาที่สองในระยะแรก เมื่อไวยากรณ์ของภาษาแม่ไม่เพียงพอต่อ การใช้ในภาษาเป้าหมายก็จะใช้ปนกันมากขึ้น จนในที่สุดก็เปลี่ยนไปใช้ไวยากรณ์ของ ภาษาเป้าหมายอย่างสมบูรณ์
The Acquisition of Chinese Complex Attributives by L2 Learners of Thai
Within the framework of generative grammar, this paper investigates how Thai L2 learners of Chinese acquire Chinese complex attributives, based on which, the characteristic of their Interlingua grammar is described and the role of L1 and UG in L2 acquisition is discussed. It is found that the initial state of the Interlingua grammar of Thai learners demonstrates L1 features and with the development of their Chinese proficiency, it exhibits characteristics of target language. Thus, the paper argues that L1 plays a role in the initial stage of L2 acquisition but when L2 input cannot be adequately represented by L1, UG will take over and help L2 learners to represent target language grammar.
Article Details
ผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลิขสิทธิ์ของผู้เขียนหรือผู้แปลผลงานนั้น หากนำลงในวารสารจีนศึกษาเป็นครั้งแรก เจ้าของผลงานสามารถนำไปตีพิมพ์ซ้ำในวารสารหรือหนังสืออื่นได้โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่หากผลงานที่ได้รับพิจารณานำลงในวารสารจีนศึกษา เป็นผลงานที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาก่อนเจ้าของผลงานต้องจัดการเรื่องปัญหาลิขสิทธิ์กับแหล่งพิมพ์แรกเอง หากเกิดปัญหาทางกฎหมาย ถือว่าไม่อยู่ในความรับผิดชอบของวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทั้งนี้ ความคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวกับกองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์