生存与死亡的困境和意义 ——读余华《活着》
Main Article Content
Abstract
อุปสรรคและความหมายของการมีชีวิตอยู่และการตายจากจากหนังสือ คนตายยาก ของ หยูฮว่า
หยูฮว่า2เป็นเสมือนตัวแทนนักเขียนในกลุ่มบุกเบิกชื่อดังของจีน ซึ่งนิยายเรื่องคนตายยากก็เป็นหนึ่งในผลงานชิ้นเอกของเขา นิยายเรื่องนี้หยูฮว่าได้เล่าถึงเรื่องราวชีวิตของตัวละครเอกนามว่าฝูกุ้ยที่ต้องพบเจอกับความตายอย่างต่อเนื่องของคนในครอบครัว อีกทั้งสภาพสังคมของจีนที่เขาได้อ้างอิงจากความเป็นจริงในคณะนั้นยังทำให้ชีวิตของฝูกุ้ยล้วนแล้วแต่ต้องพบเจอกับเรื่องเลวร้ายที่ไม่อาจหลีกหนีไปได้ นอกจากนี้หยูฮว่ายังได้มุ่งเน้นถึงการเปลี่ยนแปลงของโชคชะตาในชีวิตของมนุษย์ว่าล้วนแล้วแต่มีความสลับซับซ้อนและแฝงไปด้วยความหมายที่ผู้อ่านควรจักต้องพิจารณาและตรึกตรอง ซึ่งจะเห็นได้จากเนื้อหาของนิยายเรื่องนี้ที่ผู้แต่งตั้งใจให้ผู้อ่านได้ตระหนักถึงความหมายและความเป็นจริงของการมีชีวิตอยู่และความตายที่ล้วนแล้วแต่เกี่ยวพันเชื่อมโยงซี่งกันและกัน
The Dilemma and Meaning of Existence and Death —Deciphering To Live a Novel by Yu Hua
Yu Hua is a representative of the Chinese pioneer writers. Because of his unique life experience, most of his works focus on the subject of death and existence. This paper shows how Yu Hua tells the story of Fugui’s enthusiasm for life after his misfortunes, explores the importance of life and the nature of being , by emphasizing the mysterious deliberation, the strike on human consciousness and the exploration of life during the process of character’s continually changing fates. In this novel, he also provokes readers to think hard about existence under the canopy of death.
Article Details
ผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลิขสิทธิ์ของผู้เขียนหรือผู้แปลผลงานนั้น หากนำลงในวารสารจีนศึกษาเป็นครั้งแรก เจ้าของผลงานสามารถนำไปตีพิมพ์ซ้ำในวารสารหรือหนังสืออื่นได้โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่หากผลงานที่ได้รับพิจารณานำลงในวารสารจีนศึกษา เป็นผลงานที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาก่อนเจ้าของผลงานต้องจัดการเรื่องปัญหาลิขสิทธิ์กับแหล่งพิมพ์แรกเอง หากเกิดปัญหาทางกฎหมาย ถือว่าไม่อยู่ในความรับผิดชอบของวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทั้งนี้ ความคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวกับกองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์