มอง“เกาเหลา”จากแง่มุมวัฒนธรรมอาหารการกินของคนแคะ

Main Article Content

吴圣杨 -
อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล

Abstract

คนแคะในแผ่นดินใหญ่จีนมีอาหาร“เกาเหลา” แต่“เกาเหลา”ของคนแคะ MEI XIAN(梅县)ต่างกับ“เกาเหลา”ของคนแคะ JIE XI(揭西)ในภาษาแคะ MEI XIAN หมายถึง 膏膋 (ɡɑ̄oliɑ́o ความหมายดั้งเดิม คือ ไขมันในกระดูก) ส่วนในภาษาแคะ JIE XI หมายถึง 淆糅 (xiɑ́oróu แกงจืดรวมมิตร) แต่ทั้ง 膏膋และ 肴糅สะท้อนให้เห็นถึง ลักษณะที่สำคัญที่สุดของอาหารแคะ ซึ่งก็คือเน้น “มัน”และ“รวมมิตร” ทั้งสองความหมาย รวมอยู่ในคำจีนโบราณ “糅 (róu)”หรือคำจีนที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบันคือ“杂 (zɑ́)”ในการศึกษาภาษาไทยคำว่า “เกาเหลา” ซึ่งเป็นคำยืมจากภาษาจีน การมองจากแง่มุม ลักษณะอาหารการกินของคนแคะ สามารถช่วยให้เราเข้าใจความหมายเชิงอุปมาของคำไทย “เกาเหลา”ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

 

从客家饮食文化看泰语汉借词kɑo33 lɑo24 词义的发展

中国客家人语言中有kɑo33 lɑo24 一词,指膏膋或淆糅,即肉 类、油脂高的食物或多种食物合在一起的状态。客家人在中国饮食文化的 发展和传播过程中有着重要的作用,从客家饮食文化发展的角度审视,可 以深刻理解泰语汉借词kɑo33 lɑo24 词义的发展。

 

On Chinese-loan word kɑo33 lɑo24: A Hakka food culture perspective

In Chinese Hakka language, kɑo33 lɑo24 refers to the food with much meat or oil, or a mixture of such things. Since Hakka played an important role in the development and spread of Chinese food culture, we can better understand the evolvement of acceptation of kao33 lao24, the Chinese-loan word, from a Hakka perspective.

Article Details

Section
Articles