การวิเคราะห์การเรียนรู้คาว่า “gei” ของนักศึกษาไทยในระดับชั้นต้น
Main Article Content
Abstract
งานวิจัยนี้ได้ข้อมูลพื้นฐานจากคลังเรียงความของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สานักวิชาจีนวิทยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงทั้งหมด 110000 ตัวอักษร เพื่อศึกษาการเรียนรู้การใช้คาว่า “gei” ในภาษาจีนของนักศึกษาไทย ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาไทยมีรูปแบบที่จากัดมากในการใช้คาว่า “gei” ทั้งยังมีความถี่ในแต่ละวิธีการใช้ที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน เหล่านี้มีความสัมพันธ์กับการใช้ “gei” ในภาษาภาษาแม่และแบบเรียนพื้นฐานที่นักศึกษาใช้เรียนเป็นอย่างมาก ข้อผิดพลาดส่วนใหญ่ของการเรียนรู้คาว่า “gei” ในภาษาจีนของนักศึกษาไทยแบ่งเป็น 3 ประเภท โดยเรียงลาดับจากข้อผิดพลาดที่มากที่สุดไปน้อยที่สุดดังนี้ การใช้คาผิด การลาดับคาผิด และการใช้คาฟุ่มเฟือย สาเหตุที่เกิดข้อผิดพลาดเหล่านี้คือ การแทรกแซงจากภาษาแม่และการถ่ายโอนภายในภาษา จากเกณฑ์ความถูกต้องและหลักการความถี่สัมพัทธ์นั้น ลาดับการเรียนรู้คาว่า “gei” ในภาษาจีนของนักศึกษาไทยในระดับชั้นต้นเป็นดังนี้ Prep1﹥V1﹥Prep2﹥V3﹥Prep5 แต่นักศึกษาไม่สามารถประสบความสาเร็จในการเรียนรู้ V1, Prep2, V3, Prep5 และจากการศึกษานี้จึงได้เสนอแนะถึงวิธีการสอนที่เหมาะสม
Article Details
Section
Articles
ผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลิขสิทธิ์ของผู้เขียนหรือผู้แปลผลงานนั้น หากนำลงในวารสารจีนศึกษาเป็นครั้งแรก เจ้าของผลงานสามารถนำไปตีพิมพ์ซ้ำในวารสารหรือหนังสืออื่นได้โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่หากผลงานที่ได้รับพิจารณานำลงในวารสารจีนศึกษา เป็นผลงานที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาก่อนเจ้าของผลงานต้องจัดการเรื่องปัญหาลิขสิทธิ์กับแหล่งพิมพ์แรกเอง หากเกิดปัญหาทางกฎหมาย ถือว่าไม่อยู่ในความรับผิดชอบของวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทั้งนี้ ความคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวกับกองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์