The Development of Local Curriculum: Thai Beaung Cultures on Selected Course for grad level 6 students at Nong Ta Ming School, Pattananikhom District, Lopburi Province

Authors

  • Panadda Panichayapan สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
  • Phanthip Petchvichit Social Education, Faculty of Humanities and Social sciences, Thepsatri Rajabhat University

Keywords:

Development Curriculum, Local Curriculum

Abstract

The purposes of this research are to develop the local curriculum, to compare the scholastic achievements, to study learning behaviors, and to study attitudes of the 6th graders’ towards the local curriculum about Thai Beaung cultures in the additional curriculum. The samples that had been specifically chosen are 36 6th graders of of Nong Ta Ming School in Pattananikhom District, Lopburi, in the second semester. The research instruments include the local curriculum about Thai Beaung cultures, learning management plans, achievement tests, learning behaviors surveys and attitude tests. The statistics used in the research are means, standard deviations and the t-test. Results of this study show that; The local curriculum about Thai Beaung cultures on Selected Course curriculum consist of 5 chapters. The scholastic achievements, after having studied accordingly to the curriculum, improved with statistical significance at the 0.05 level. The outcome of the learning behaviors surveys and attitude tests resulted in the highest level of the possible results.

References

กรมวิชาการ. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่ง สินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

คณะกรรมการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม. (2560). การกำหนดลักษณะของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ.2560. เข้าถึงจาก http://ich. culture.go.th/images/ich-pdf/160.pdf.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากร ศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1).

ธํารง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตร : การออกแบบหลักสูตรและพัฒนา. กรุงเทพฯ: ธนรัช

ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดลพบุรี. (2527). นนทบุรี: โรงพิมพ์สถานสงเคราะห์หญิงปากเกร็ด.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). (2542). การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.

รุ่ง แก้วแดง. (2541). การนำภูมิปัญญาไทยเข้าระบบสู่การศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

วนิดา อารมณ์เพียร. (2552). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ความคงทนในการเรียนรู้เรื่อง การหารทศนิยม และพฤติกรรมการทํางานกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จัดการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD และเทคนิค TGT. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. (หลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

ศศิธร วิศพันธุ์. (2551). การพัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง หัตถกรรมกรงนกเขาชวา สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมถวิล วิจิตรวรรณา และคณะ. (2556). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. (ม.ป.ป.). การจัดการเรียนรู้บนฐานการประเมิน. เข้าถึงจาก https://library.tru.ac.th/inlop/44-illocal/sacul/548-sacul09.html.

อุไรวรรณ สัจจานนท์. (2552). การศึกษาพฤติกรรมการทํางานกลุ่มและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้เรื่องการปกครองส่วนท้องถิ่น จากการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์คุรุศาสตรมหาบัณฑิต. (หลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

Saylor. J.G., & Alexander, W.M. (1981). Curriculum planning for better teaching and learning (4th ed). New York: holt, Rinehart and Winston.

Downloads

Published

2020-12-29