การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพการผลิตเส้นไหมหัตถกรรม

ผู้แต่ง

  • จีระ บางแสง หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

การจัดการความรู้, การพัฒนาคุณภาพ, เส้นไหมหัตถกรรม

บทคัดย่อ

         การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพการผลิตเส้นไหมหัตถกรรม ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์ (1) กลุ่มผู้ให้ความรู้ ได้แก่ เครือข่ายวิสาหกิจไหม กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนากลุ่มเกษตรกรเครือข่ายสาวเส้นไหม และศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ จำนวน 30 คน (2) กลุ่มผู้ใช้ความรู้ ได้แก่ ผู้อยู่ในครัวเรือนที่ผลิตเส้นไหมหัตถกรรมจากพันธุ์ไหมพื้นบ้านของไทยแบบครบวงจรทั้งหมู่บ้าน ในจังหวัดชัยภูมิ จำนวน 10 ครัวเรือน ผลการวิจัยพบว่า การจัดการความรู้ช่วยถอดความรู้ฝังลึกการผลิตเส้นไหมให้ออกมาเป็นความรู้ที่ชัดแจ้ง ได้แก่ การคัดเลือกรังไหม การสาวไหมเปลือกนอก การสาวไหมน้อย และการทำไจไหม ที่มีการผลิตไม่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มผู้ให้ความรู้ และกลุ่มผู้ใช้ความรู้ และมีบางขั้นตอนที่ยังไม่มีวิธีปฏิบัติชัดเจน ได้แก่ จำนวนรังที่สาวไหม น้ำหนักไจไหม เมื่อนำแนวคิดวงจรคุณภาพมายกระดับความรู้การผลิต เส้นไหมที่เรียนรู้โดยการปฏิบัติพบว่า ช่วยให้ได้วิธีปฏิบัติการผลิตที่ชัดเจนสามารถตรวจสอบได้ จากการประเมินผลผลิตพบว่า ผลผลิตเส้นไหมที่ได้จากกระบวนการผลิตที่ผ่านการจัดการความรู้มีคุณภาพตามมาตรฐานเส้นไหมไทยในระดับคุณภาพชั้นหนึ่งของเส้นไหม

References

กรมการพัฒนาชุมชน. (2549). องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization). สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2550, จาก http://www.cdd.go.th/kmcd/
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2550). ไหม. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2551, จาก http://www.dtn.moc.go.th/vtl_upload_file/
กรมวิชาการเกษตร. (2546). 30 ปี วิชาการหม่อนไหม. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กฤตพงศ์ วัชระนุกุล. (2548). การวิเคราะห์โครงสร้างต้นทุนการผลิตผ้าไหมภายใต้โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2551, จาก http://72.14.235.132/search?q=cache:Ydpv8aDFJ0oj:amt.polytechnic.ac.th
จุฑาธิป ศีลบุตร, อา ไบ ยา, และพันธุ์ทิพย์ รามสูต. (2551). ผลสัมฤทธิ์ของโครงการแผนแม่บทการพัฒนาองค์กรจัดการความรู้การสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม. วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา, 6(1), 51-56.
ฉวีวรรณ ปานชี และคณะ. (2548). การัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาอาชีพทำขนมโบราณ ชุมชนกุฎีจีน แขวงวัดกัลป์ยาณ์ เขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: รายงานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
ชัชวาล ทัตศิวัช. (2550). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (participatory action research-PAR): มิติใหม่ของรูปแบบวิจัยเพื่อการพัฒนาชุมชนระดับท้องถิ่น. คณะรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยรัชต์ภาคย์.
ธีระยุทธ์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา. (2551). การถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ. นนทบุรี: สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ธีรวัลย์ ศิลารัตน์. (2548). กรณีศึกษา: กระบวนการเรียนรู้ชุมชนบางสระเก้าเรื่องเสื่อจันทบูร. คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
นรรฐิชา คงแก้ว, กลางเดือน โพชนา และเทิดธิดา ทิพย์รัตน์. (2553). การประเมินระบบคุณภาพในสถาบันอุดมศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (กรณีศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์). รายงานวิจัยในการสัมมนานานาชาติเกี่ยวกับการบริการและการพัฒนา วันที่ 21 พฤษภาคม 2553, ณ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
ประดินันท์ อุปรมัย. (2552). การศึกษาในจังหวัดนนทบุรี: กระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอาชีพในรูปแบบการศึกษาตามอัธยาศัย. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2553, จาก http://www.stou.ac.th/Offices/Ord/OrdOldPage/NewPage/pdf/ResearchUniversit/
พรธิดา วิเชียรปัญญา. (2547). การจัดการความรู้: พื้นฐานและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
พรรณี บุญประกอบ. (2548). การวิจัยแบบมีส่วนร่วมของครูในการพัฒนาพลังปัญญาของเยาวชนไทย. รายงานวิจัย สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
เพ็ญจันทร์ เงียบประเสริฐ และปราโมทย์ เงียบประเสริฐ. (2550). รูปแบบการวิจัยและพัฒนาของนักวิจัย. ภูเก็ต: ศูนย์ศึกษาพัฒนาครู คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏภูเก็ต
รัตนา แสงสว่าง (2548). การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคอีสานตอนบน. รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
ศักดิ์ชาย พวงจันทร์ และปิ่นฤทัย ยะแก้ว. (2549). การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นไม้แกะสลักบ้านหลุก. รายงานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
ศิริ ผาสุก. (2544). ผ้าไหมพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ศุภชัย อาชีวะระงับโรค. (2546). Practical PDCA แก้ปัญหาและปรับปรุงงานเพื่อความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ซีโน ดีไซน์.
ศุภชัย เมืองรักษ์ และคณะ. (2553). สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงร่างองค์กร ตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ของคณะเกษตรศาสตร์. เชียงใหม่: สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สถาบันเพิ่มผลิตแห่งชาติ. (2547). เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2551, จาก http://www.tqa.or.th/th/criterion/Rule_04.php
สถาบันวิจัยศิลปะ และวัฒนธรรมอีสาน. (2547). ผ้าไหมอีสาน ความอลังการของแพรพรรณ. วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 8 กันยายน 2547.
สถาบันหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ. (2548). ไหมพันธุ์รับรองของกรมวิชาการเกษตร. สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2553, จาก http://www.moac.go.th/builder/mu/
สมโพธิ อัครพันธุ์. (2539). การพัฒนาหม่อนไหมในประเทศไทย. รายงานการวิจัยสถาบันวิจัยหม่อนไหม กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ. (2549). โครงการจัดทำแผนที่เครือข่ายวิสาหกิจ (cluster mapping) เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการ. กรุงเทพฯ: อุดมรัตน์การพิมพ์และดีไซน์.
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ. (2548). เส้นไหมไทย. มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม 122 ตอนที่ 114 ง วันที่ 8 ธันวาคม พุทธศักราช 2548.
สุดารัตน์ ภัทรดุลพิทักษ์, ธิดารัตน์ เจริญเขต และประภาพร โสภาพล. (2548). การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นผ้าฝ้ายย้อมสีเปลือกไม้บ้านโนนศึกษา ตำบลนาอุดม อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด. รายงานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.
สุรีย์ สุทธิสารากร. (2548). การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทอผ้ามุก บ้านติ้ว ตำบลบ้านติ้ว อำเภอหล่มหลัก จังหวัดเพชรบูรณ์. รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
สุวรรณ เหรียญเสาวภาคย์ และคณะ. (2548). การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: ก.พลพิมพ์ (1996).
สุวัชรา จุ่นพิจารณ์. (2549). การบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management). สืบค้นเมื่อ 13 กันยายน 2549, จาก http://www.pharmacy.cmu.ac.th/team/
อรรชกา ศรีบุญเรือง บริมเบิล. (2550). ดัชนีเศรษฐกิจไทย. ศูนย์ปฏิบัติการเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. สรุปประเด็นข่าวสำคัญ, วันศุกร์ที่ 21 ธันวาคม 2550.
อรุณรุ่ง บุญธนันตพงศ์. (2548). การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาอาชีพเครื่องปั้นดินเผา ชุมชนเกาะเกร็ด ต.เกาะเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี. รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
อังสนา โสมาภา. (2550). รายงานการศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาครัสเตอร์ผ้าไหม จังหวัดขอนแก่น และครัสเตอร์สิ่งทอจังหวัดชัยภูมิ. สำนักพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม.
อัจฉรา สโรบล. (2551). ภูมิปัญญาสิ่งทอดอยเต่ากับการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวล้านนาใต้. ภาควิชามนุษยสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อัญญาณี คล้ายสุบรรณ์ และจุมพจน์ วนิชกุล. (2548). การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านหัตถกรรมเจียระไนนิลในจังหวัดกาญจนบุรี. รายงานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
Arab School for Science and Technology: ASST. (2009). International workshop on knowledge management in scientific organizations KMSO 2009. Retrieved March 10, 2009, from http://www.arabschool.org.sy/Files
Armistead, C. (1999). Knowledge management and process performance. Research Journal of Knowledge Management, 3(2): 143-154.
Dubois, N., & Wilkerson, T. (2008). Knowledge management: Background paper for the development of a knowledge management strategy for public health in Canada. National Collaborating Centre for Methods and Tools, (NCCMT).
Firestone, J. M. (2001). Estimating benefits of knowledge management initiatives: Concepts, methodology, and tools. Knowledge and Innovation, Journal of The KMCI, 1(3), 110-129.
Firestone, M., & McElroy, W. (2005). Doing knowledge management. The Learning Organization Journal, 12(2): 1-29.
Gallupe, B. R. (2000). Knowledge management systems: Surveying the landscape. Retrieved December 20, 2007, from http://business.queensu.ca/centres/
Gebus, S. (2006). Knowledge-based decision support systems for production optimization and quality improvement in the electronics industry. Finland: Faculty of Technology, University of OULU.
Gottschalk, P. (2002). Toward a model of growth stages for knowledge management technology in law firms. Retrieved December 11, 2007, from http://infrom.nu/Articles/Vol5/v5n2p079-093.pdf.
Ikujiro, N., & Takeuchi, H. (1995). The knowledge-creating company: How Japanese companies create the dynamics of innovation. NY: Oxford University Press.
IoMosaic Corporation. (2003). Realizing cost and safety benefits from knowledge management and workflow automation solutions. Retrieved January 10, 2008, from http://archives1.iomosaic.com/whitepapers/
National Aeronautics and Space Administration: NASA. (2008). NASA knowledge management team delivering information for action. Retrieved March 10, 2009, from http://km.nasa.gov/whatis/index.html
Rigby, D., & Bilodeau, B. (2007). Management tool and trends. Retrieved Suptember 9, 2007, from http://www.bain.com/management_tools/
Schutt, P. (2003). The Post-Nonaka knowledge management. Journal of Universal Computer Science, 9(6): 451-462.
Sousa, G. W., Van Aken, E. M., & Rentes, A. F. (2001). Using enterprise modeling to facilitate knowledge management in organizational transformation efforts. Portland, OR, USA: PICMET, CD-ROM.
Umemoto, K. (2002). Managing existing knowledge is not enough: Knowledge management theory and practice in Japan. Retrieved May 3, 2007, from http://www.jaist.ac.jp/ks/labs/umemoto/km_e.html
Zhao, F. (2001). Postgraduate research supervision: A process of knowledge management. Retrieved December 18, 2007, from http://ulitbase.rmit.edu.au/Articles/may01/zhao1.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-12-27