พฤติกรรมทางสังคมกับสุขภาพจิตของวัยรุ่นชายรักชาย
คำสำคัญ:
พฤติกรรมทางสังคม, สุขภาพจิต, วันรุ่นชายรักชายบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางสังคมกับสุขภาพจิตของวัยรุ่นชายรักชาย เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ได้จากแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 198 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยพบว่า (1) วัยรุ่นชายรักชาย มีพฤติกรรมทางสังคมด้วยการมีความสัมพันธ์กับเพื่อนที่เป็นชายรักชาย อีกทั้งวัยรุ่นชายรักชายมีพฤติกรรมทางสังคมแบบเครือข่ายชายรักชาย โดยมีพฤติกรรมทางสังคมด้วยการมีเพศสัมพันธ์แบบชายรักชายกับเพื่อนที่เป็นชายรักชาย เพื่อนผู้ชาย รุ่นพี่ รุ่นน้อง ครูบาอาจารย์ ผู้ใหญ่ที่นับถือ ชายแปลกหน้า และแฟนหรือคนรัก (2) พฤติกรรมทางสังคม ส่งผลในเชิงบวกต่อสุขภาพจิตของชายรักชาย โดยหากว่าวัยรุ่นชายรักชายมีการเปิดตัวและกล้าแสดงออกทางสังคมมากขึ้น ก็จะส่งผลให้มีสุขภาพจิตที่ดีตามไปด้วย
References
ทศวร มณีศรีขำ. (2545). การสร้างความเป็นอื่นให้กับเกย์. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (พัฒนศึกษาศาสตร์), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
นที ธีระโรจนพงษ์. (2548). แกะกล่องเกย์. กรุงเทพฯ: พลอยสีรุ้ง.
ภริดา โกเชก. (2548). การสื่อสารต่างวัฒนธรรมที่มีผลต่อการปรับตัวของคนข้ามชาติ: กรณีศึกษาชาวพม่าในจังหวัดพรมแดนประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารมวลชน), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มลินี สมภพเจริญ. (2549). ทฤษีการสื่อสารระหว่างบุคคล. กรุงเทพฯ: พี.เอส.
ยศ สันติสมบัติ. (2542). ฟรอยด์และพัฒนาการของจิตวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รัจรี นพเกตุ. (2542). มนุษย์: จิตวิทยาทางเพศ. กรุงเทพฯ: ยงพล.
วิภา ด่านธำรงกูล และคณะ. (2547). เครือข่ายสังคมและเพศสัมพันธ์กลุ่มชายชอบชาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2549). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมภพ เรืองตระกูล. (2550). พฤติกรรมรักร่วมเพศและสุขภาพจิต. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
สุพร เกิดสว่าง. (2546). ชายรักชาย. กรุงเทพฯ: สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพฯ).
Butler, J. (1990). Gender trouble: Feminism and the subversion of identity. London and New York: Routledge.
Coleman, J., & Hendry, L. B. (1999). The nature of adolescence. London: Routledge.
Dacey, J., & Kenny, M. (1997). Adolescent development. Dubugue: Brown & Benchmark.
Darling, N., Hamilton, S. F., & Niego, S. (1994). Adolescents’ relations with adults outside the family. California: Sage.
Dubrin, A. J. (1996). Human relations for career and personal success. New Jersey: Prentice-Hall.
Freud, S. (1930). Civilization and its contents. New York: Norton.
Haag, A. M., & Chang, F. K. (1997). The impact of electronic networking on the lesbian and gay community. New York: The Harrington Park.
Johnson, D. W. (1990). Reaching out: Interpersonal effectiveness and self-Actualization. New Jersey: Prentice-Hall.
Kinsey, A. C., Pomeroy, W. B., & Martin, C. E. (1948). Sexual Behavior in Human Male. Philadelphia, WB Saunders.
Knapp, M. L., & Vangelisti, A. L. (2005). Interpersonal communication and human relationship. Boson: Allyn and Bacon.
Santrock, J. W. (1998). Adolescence. New York: McGraw-Hill.
Savin-Williams, R. C. (1994). Dating those you can’t love and loving those you can’t date. California: Sage.
Sullivan, H. S. (1953). The Interpersonal Theory of Psychiatry. New York: w.w.w. Norton.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว