อิทธิพลภาวะผู้นำ แรงจูงใจ ความผูกพันต่อองค์กร และความสามารถเชาว์ปัญญาที่มีต่อการปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการราชทัณฑ์ของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ในเรือนจำกลางบางขวาง
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำ, แรงจูงใจ, ความผูกพันต่อองค์กร, เชาว์ปัญญาบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการราชทัณฑ์ของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ในเรือนจำกลางบางขวาง ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ที่ปฏิบัติงานในเรือนจำกลางบางขวาง จำนวน 249 คน โดยใช้แบบสอบถาม สถิติการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์สมการโครงสร้างโดยใช้โปรแกรมริสเรลในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า แบบจำลองสมการโครงสร้าง พบว่า ภาวะผู้นำ แรงจูงใจ ความผูพันต่อองค์กร และความสามารถเชาว์ปัญญาส่งผลต่อการปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการราชทัณฑ์
References
จิราภา เต็งไตรรัตน์. (2547). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชูศักดิ์ เจนประโคน. (2541). เทคนิคการสร้างแรงจูงใจ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน – องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์.
ประวีณ ณ นคร. (2546). การเขียนหนังสือติดต่อราชการและธุรกิจ: บทเรียนด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ: สวัสดิการสำนักงาน ก.พ.
พงษ์ศักดิ์ แป้นแก้ว. (2546). รายงานการวิจัยรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2555). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธ์.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2550). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดสามลดา.
Anita, W. (1995). Educational Psychology. Toronto: Allyn & Bacon.
Bandura, A. (1983). Psychological mechanisms of aggression. In R. G. Geen & E. Donnerstein (Eds.), Aggression: Theoretical and empirical reviews (pp. 1-40).
Bass, B. M. (1985). Leadership and Performance Beyond Expectation. New York: The Free Press.
Brown, M. E., & Trevino, L. K. (2006). Ethical Leadership: A Review and Future Directions. The Leadership Quarterly. 17: 595-616.
Clayton, P. (1972). Existence Relatedness Growth. New York: Free Press.
Daft, R. L. (1999). Leadership: Theory and practice. Forth Worth, TX: Dryen Press.
Domjan, M. (1996). The Principles of Learning and Behavior Belmont. California: Thomson.
Greenberg, J., & Baron, R. A. (1997). Behavior in Organizational (6th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.
Herman, J. J. (1991). School-based management: Current thinking and practice. Illinois: Charles C. Thomas Publisher.
Hersey, P., & Blanchard, K. H. (1972). Management of Organizational Behavior: Utilizing Human Resources (2nd ed.). New Jersey: Prentice-Hall.
Hersey, P., Blanchard, K. H., & Johnson, D. E. (1996). Management of Organizational Behavior (7th ed.). Upper Sandle River, NJ: Prentice-Hall.
Maslow, A. H. (1954). Motivation and Personality in the Classroom. New York: Harper &. Brather.
Northouse, P. G. (2012). Introduction to leadership: concepts and practice. Thousand Oaks, CA: SAGE Publications.
Steers, R. M. (1977). Organization Effectiveness. California: Goodyear Publishers Inc.
Steers, R. M., & Porter, L. W. (1983). Motivation and Work Behavior (3rd ed.). New York: McGraw - Hill.
Story, M. F., Winters, J. M. W., Premo, B., Kailes. J. I., & Winters, J. M. (2003). Understanding barriers to healthcare caused by inaccessible medical instrumentation. Retrieved. from http://www.rerc-ami.org/rerc-ami/pubs/RESN03_MFS_Medical.pdf.
Vroom, V. H. (1970). Work and Motivation. New York: John Willey & son.
Yukl, G. A. (1994). Leadership in Organization. New Jersey: Prentice-Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว