การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับต้นในบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง

ผู้แต่ง

  • เยาวลักษณ์ ชาวบ้านโพธิ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง, ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน, ผู้บริหารระดับต้น

บทคัดย่อ

          การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลของการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับต้นในบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้บริหารระดับต้นในบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง จำนวน 166 คน และดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม จากนั้นทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยค่าสัมประสิทธิ์เพียร์สัน (Pearson Correlation) พบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ในภาพรวม มีความสัมพันธ์ ในเชิงบวก กับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ในภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวก กับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ในภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์  มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ด้านลูกค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวก กับประสิทธิผลการปฏิบัติงานในภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ด้านกระตุ้นทางปัญญา มีความสัมพันธ์ในเชิงบวก กับประสิทธิผลการปฏิบัติงานในภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 และด้านคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล มีความสัมพันธ์มีความสัมพันธ์ ในเชิงบวก กับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ในภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05

References

ธวัช บุณยมณี. (2550). ภาวะผู้นำและการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
นิพนธ์ กินาวงศ์. (2542). หลักบริหารการศึกษา. พิษณุโลก: ตระกูลไทย.
นิรัตน์ สังข์จีน. (2548). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของนายกเทศมนตรี: ศึกษากรณี เทศบาลในจังหวัดปัตตานี. ภาคนิพนธ์ปริญญาพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
นิสิต อนันตรักษ์. (2546). ปัจจัยเกี่ยวข้องกับประสิทธิผลของโรงพยาบาลบ้านแผ้ว (องค์การมหาชน). วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นันทรัตน์ ศรีนุ่นวิเชียร์. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความรู้ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และ

ประสิทธิผลของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
น้ำผึ้ง โพธิ์ทอง. (2549). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับท้องถิ่น: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี. ภาคนิพนธ์นีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม), คณะพัฒนาสังคมและสิงแวดล้อม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2548). การจัดการสมัยใหม่ (Modern Management) (พิมพ์ครั้งที่ 4๗. กรุงเทพฯ: เซ็นทรัล เอ็กเพรส.
ประเสริฐ สมพงษ์ธรรม. (2538). การวิเคราะห์ภาวะผู้นำของศึกษาการจังหวัดที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลองค์การสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรัชญา ชุ่มนาเสียว. (2549). การประเมินผลโครงการนำร่อง เพื่อเสริมสร้างกระบวนการปฏิบัติงานและเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พยอม วงศ์สารศรี. (2545). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สุภาการพิมพ์.
พิทยา บวรวัฒนา. (2531). ทฤษฎีองค์การสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภรณี กีร์ติบุตร. (2529). การประเมินประสิทธิผลขององค์การ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
มัฆวาฬ สุวรรณเรือง. (2536). ประสิทธิผลของการนำนโยบายป้องปรามทุจริตเลือกตั้งของโครงการ ท.ม.ก. ไปปฏิบัติ กรณีวิจัยปฏิบัติการในเขตเลือกตั้ง ค. จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาสังคม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
มณเฑียร มุสิกทอง. (2543). ประสิทธิผลของการดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูปการศึกษา: ศึกษาเฉพาะกรณีโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. ภาคนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาพัฒนาสังคม, คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ยงยุทธ เกษสาคร. (2546). การพัฒนาบุคลากรและการฝึกอบรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารและตำรา สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
ยุวรัตน์ แตงน้อย. (2549). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารระดับกลางกับประสิทธิผลองค์การ: ศึกษากรณี การทางพิเศษแห่งประเทศไทย. ภาคนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2544). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์.
รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2544). ผลการฝึกอบรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้นำนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาพฤติกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วรางคณา เทียมภักดี. (2547). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลสู่การรับรองคุณภาพคุณภาพโรงพยาบาล: การศึกษาโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดเชียงราย. ภาคนิพนธ์ปริญญาพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
วิจารณ์ พานิช. (2547). การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: ธรรกมลการพิมพ์.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2539). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.
สมพงษ์ เกษมสิน. (2523). การบริหารบุคคลแผนใหม่. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สมยศ นาวีการ. (2546). การบริหารเชิงกลยุทธ์: แนวความคิดและกรณีศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บรรณกิจ 1991.
สุนันทา เลาหันทน์. (2540). การพัฒนาองค์การ (พิมพ์ครั้งที่ 2, ปรับปรุงและแก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: ดี ดี บุ๊คสโตร์.
สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2548). ภาวะผู้นำ ทฤษฎีและปฏิบัติ: ศาสตร์และศิลป์สู่ความเป็นผู้นำที่สมบูรณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วิรัตน์ เอ็ดดูเคชั่น.
สุนีย์ นวจินดาพันธ์. (2548). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ ศึกษากรณี จังหวัดปัตตานี. ภาคนิพนธ์ปริญญาพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2536). ภาวะผู้นำและความขัดแย้ง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อังกาบ เจริญฤทธิ์. (2548). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา: ศึกษากรณี สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลาเขต 1. ภาคนิพนธ์ปริญญาพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Argyris, Chris. (1964). Integration the Individual and the Organization. New York: John.
Barker, A. N. (1992). Transformational Nursing Leadership: A Vision for the Future. New York: National League for Nursing.
Bass, B. M. (1985). Leadership and performance beyond expectations. New York: The Free Press.
Bass, B. M., & Avolio, B. J. (1990). Transformational leadership development. California: Consulting Psychologists Press.
Boyett, J. H. and Boyett. J. T. (2001). The guru guide to the knowledge economy: The best ideas for operating profitably in a hyper-competitive world. New York: John Wiley & Sons Inc.
Dunn, William N. (1981). Public Policy Analysis: An Introduction. Englewood Ciffs, New Jersey: Prentice- Hall.
Etzioni, A. (1964). A Modern Organization. New Jersey: Prentice-Hall.
Katz, Daniel., & Kahn, Robert L. (1966). The Social Psychology of Organization. New York: John Wiley & Sons.
Loveridge, G. E. (1996). Nursing management in the new paradigm. Maryland: Aspen Publishers.
O’Leary, E. (2000). 10 minute guide to leadership (2nd ed.). Indinapolis, In A Pearson Education Company.
Reinhardt, A. C. (2004). Discourse on the transformational leader met narrative of finding the right person for the job. Advance in nursing science, 27(1), 21-31.
Richards, D. & Engle, S. (1986). “After the Vision: Suggestions to Corporate Visionaries and Vision Champions.” In J. D. Adams. (Ed). Transforming Leadership. Alexandria, VA: miles River Press. 199-215.
Robbins, S. P., & M. Coulter. (1999). Management Organizational. New Jersey: Prentice-Hall.
Schein, Edgar H. (1992). Organizational Psychology. Englewood Cliff, New Jersey: Prentice-Hall.
Steers, Richard M. (1977). Organization Effectiveness: A Behavioral Views. California: Goodyear Publishing Company .

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-10