นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมกับพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม, พฤติกรรมประชาชน, ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย ความรู้ความเข้าใจในปัญหาสิ่งแวดล้อม ทัศนคติเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ความใส่ใจหรือตระหนักในปัญหาสิ่งแวดล้อม และ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของประชาชน โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 420 ราย และวิเคราะห์ด้วยเทคนิคการถดถอยพหุ ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมขึ้นอยู่กับการสื่อสารนโยบายสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม ความรู้ในปัญหาสิ่งแวดล้อม และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
References
ชุตินันท์ จีระวรวงศ์. (2556). ทัศนคติ บรรทัดฐานเชิงอัตวิสัย และระดับความเกี่ยวข้องของผลิตภัณฑ์ที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐณิชา นิสัยสุข. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค. วิทยานิพนธ์การจัดการธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ทีมข่าวสิ่งแวดล้อม. (2561). สิ่งแวดล้อมยั่งยืน ไปให้ไกลกว่า “ไทยแลนด์ 4.0” สืบค้นเมื่อ 13 เมษายน 2561, จาก https://greennews.agency/?p=15367
ยุวดี คาดการณ์ไกล. (2553). Q&A ภาษีสิ่งแวดล้อม: แนวคิด หลักการ และกฎหมาย. ชุดความรู้เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, กรุงเทพ:โรงพิมพ์เดือนตุลา
วิเชียร วงศ์ณิชชากุล ไกรฤกษ์ ปิ่นแก้ว และโชติรส กมลสวัสดิ์. (2553). หลักการตลาด. (พิมพ์ครั้งที่ 4). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
วีระ มานะรวยสมบัติ. (2554). Green Marketing: พิมพ์เขียวการตลาดวิวัฒน์โลก. กรุงเทพ: แพรธรรม.
สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร. (2557). แผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ.2556-2575). สมุทรสาคร: พิมพ์ดี.
Ali, A., & Ahmad, I. (2012). Environment Friendly Products: Factors that influence the green purchase intentions of Pakistani consumers. Pakistan Journal of Engineering Technology and Science, 2(1), 84-117.
Assael, H. (1998). Consumer behavior and marketing action, (6th ed.). Cincinnati, Ohio: South Western College Publishing.
Chen, T. B., & Chai, L. T. (2010). Attitude towards the environment and green products: Consumers’ perspective. Management Science and Engineering, 4(2), 27-39.
Drozdenko, R., Jensen, M., & Coelho, D. (2011). Pricing of green products: Premiums paid, consumer characteristics and incentives. International Journal of Business, Marketing, and Decision Sciences, 4(1), 106-116.
Durif, F., Boivin, C., & Julien, C. (2010). In search of a green product definition. Journal of Interactive Marketing, 6(1), 25-33.
Gopalakrihnan, M. S., & Muruganandam, D. (2013). A micro analysis on dissect of consumers to procure green products. Life Science Journal, 10(2), 1028-1032.
Irawan, R., & Darmayanti, D. (2012). The influence factors of green purchasing behavior: A study of university students in Jakarta. 6th Asian Business Research Conference. April 8-10, 2012. Thailand.
Kawitkar, S. S. (2013). Impact of eco-friendly products on consumer behavior. International Indexed and Refereed Research Journal, 40(4), 42-44.
Klapper, T. J. (1960). The effect of mass communication. New York: The Free Press.
Kotler, P., & Armstrong, G. (2004). Principles of marketing (10th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Paco, A., & Raposo, M. (2008). Green segmentation: An application to the Portuguese consumer market. Marketing & Planning, 27(3), 364-379.
Rashid, N. R. (2009). Awareness of eco-label in Malaysia’s green marketing initiative. International Journal of Business and Management, 4(8), 132-141.
Sahu, T. (2012). Green marketing: An attitudinal and behavioral analysis of consumers in Pune. Unpublished Doctoral Dissertation in Management Science, Symbiosis International University.
Siringi, R. (2012). Determinants of green consumer behavior of post graduate teachers. Journal of Business and Management, 6(3), 19-25.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว