รูปแบบที่เหมาะสมในการบริหารจัดการแรงงานสัมพันธ์ไทย-กัมพูชา
คำสำคัญ:
รูปแบบที่เหมาะสม, การบริหารจัดการ, แรงงานสัมพันธ์, ไทย – กัมพูชาบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบท ปัจจัยในการบริหารจัดการในเรื่องแรงงานสัมพันธ์ไทย – กัมพูชา และนำเสนอรูปแบบที่เหมาะสม เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้แบบสัมภาษณ์ซึ่งมีการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ และเก็บข้อมูลจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 3 ฝ่ายคือผู้บริหารทั้งภาครับและเอกชน ชาวกัมพูชาที่มาทำงาน และผู้ประกอบการ ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอแบบเชิงพรรณนา
ผลการวิจัยพบว่า บริบทที่เกี่ยวข้องประกอบไปด้วยภาครัฐของประเทศไทยและกัมพูชาที่มีแนวโน้มจะประสานความร่วมมือมากขึ้นการบริหารยังยึดติดจารีตประเพณีและค่านิยมของแต่ละฝ่าย ปัจจัยที่เกี่ยวข้องประกอบไปด้วย ด้านค่าแรงสภาพเศรษฐกิจ สวัสดิการ สภาพความเป็นอยู่ สุขอนามัยและความเจริญ ด้านกฎหมาย รูปแบบที่เหมาะสมควรจัดตั้งหน่วยงานที่มากำกับดูแลโดยเฉพาะและบูรณาการร่วมกันทุกฝ่าย ให้แรงงานกัมพูชามีส่วนร่วมในการบริหาร การบังคับใช้กฎหมาย ให้เข้มงวดมากขึ้นและปรับปรุงให้ทันสมัย
References
กัญญา โพธิ์พันธุ์. (2555). การศึกษาการจ้างแรงงานต่างด้าวของผู้ประกอบการในเขตนิคมอุตสาหกรรม
ภาคตะวันออก. วารสารการจัดการธุรกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา. ปีที่2 ฉบับ2 หน้า39-49.
คณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ, 2550.
ณัฐชัย นิ่มนวล. (2556). การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวผ่านมุมมองบริบทสังคมไทยกับบริบทประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน, วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, ปีที่8 ฉบับที่ 23 พฤษภาคม – สิงหาคม 2556. หน้า 1-16.
ทรงพันธ์ ตันตระกูล. (2557). รูปแบบการนำเข้าแรงงานข้ามชาติสามสัญชาติต่อการเข้าถึงหลักประกันสังคมของประเทศไทย, วารสารมนุษยศาสตร์สาร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 (2558).
สนิท สัตโยภาส. (2559) แรงงานต่างด้าวกับความมั่นคงทางสังคม วารสารบัณฑิตวิจัย, ปีที่7 ฉบับ1
มกราคม - มิถุนายน 2559.
สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว. (2555). สถิติแรงงานต่างด้าว, กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน,
กรกฎาคม 2555.
สำนักรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม. (2542). ผลการประชุมคณะกรรมการร่วมมือรักษา
ความสงบเรียบร้อยตามชายแดนทั่วไปไทย - ลาว ครั้งที่ 8. สืบค้น 3 สิงหาคม 2542,
จาก http://www.ryt9.com/s/cabt/203967
สุภาพ อารีเอื้อ. (2540). ความเครียดการเผชิญปัญหาและคุณภาพชีวิตของหญิงสูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม.
วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหิดล.
อดิศร เกิดมงคล. (2552). แรงงานข้ามชาติจากพม่าในประเทศไทย: มองผ่านนโยบายรัฐไทยและประเด็น
สิทธิมนุษยชน. บทความนำเสนอในงานประชุม Asia Human Right ครั้งที่ 4,17 กุมภาพันธ์ 2552. มหาวิทยาลัยโซล ประเทศเกาหลีใต้.
Roy & Andrews, (1999). The Roy’s Adaptation Model, Stamford: Appleton & Lange.
สัมภาษณ์
พล.อ.วิชิต ยาทิพย์ นายกสมาคมมิตรภาพไทย-เขมร,สัมภาษณ์14 สิงหาคม 2561
Dr.Leab Polo, Acting Chairman Phnom Penh ,interview 30 สิงหาคม 2561
Dr.Thavorin You Kheang, Angkor certified Accountant, ,Interview 31 สิงหาคม 2561
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว