ความต้องการใช้สื่อนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเขตกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
นวัตกรรมการศึกษา, การเรียนรู้, ครูบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความคิดเห็นในการใช้ในการใช้นวัตกรรมการศึกษาเพื่อการเรียนการสอนสำหรับครู 2) ความต้องการในการใช้นวัตกรรมการศึกษาเพื่อการเรียนการสอนสำหรับครู ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตกรุงเทพมหานคร บทความนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ ครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยได้จากวิธีการคำนวณตามสูตรของแบบยามาเน่ ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่คำนวณได้เท่ากับ 340 คนและเพื่อลดความผิดพลาดและไม่ครบถ้วนของแบบสอบถามจึงบวกอีก 10% ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 370 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง แบ่งออกเป็น 5 ตอน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และตามตารางไขว้ (Crosstab)
ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความคิดเห็นในการใช้นวัตกรรมการศึกษาประกอบการสอนของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตกรุงเทพมหานคร มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง 2) ความต้องการใช้นวัตกรรมการศึกษาประกอบการสอนปีการศึกษาหน้า ในระดับปลานกลาง และในระดับมาก ใกล้เคียงกัน สิ่งสำคัญคือตัวผู้สอนคือ “ครู” คงต้องมีทักษะและสร้าง ความรู้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับระดับความสามารถของตนเอง เพื่อรับมือกับอิทธิพลการปรับใช้นวัตกรรมการศึกษาในการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียนดังกล่าวควบคู่ไปกับการศึกษาวิจัยเพื่อนำไปสู่เป้าหมายที่เกิดประโยชน์สูงสุดร่วมกันโดยรวม
References
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว).
กรมสามัญศึกษา. (2542). แนวทางการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: หน่วยศึกษานิเทศก์
กรณิการ์ ชูตระกูลธรรม. (2555). การพัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรีไทยบนนวัตกรรมการศึกษาระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศคณะเทคโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สํานักงาน. (2554) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพมหานคร: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จํากัด
โครงการนวัตกรรมการศึกษาพีซีเพื่อการศึกษาไทย. (2554). ความเป็นมา. ค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.otpc.in.th/aboutus.html
จิราพร กตารัตน์. (2555). การศึกษาการใช้นวัตกรรมการศึกษาเพื่อการเรียนการสอนของข้าราชการครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาคุรุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
จักรพล เร่บ้านเกาะ. (2555). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ที่ใช้บนคอมพิวเตอร์พกพาหน้าจอสัมผัสในวิชางานหลอมหล่อเครื่องประดับ เรื่องการหล่อโลหะ. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ณัฐพร ทองศรี. (2555). ความตั้งใจใช้นวัตกรรมการศึกษาของครูผู้สอนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ทิศนา แขมมณี. (2545). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: ด้านสุทธาการพิมพ์.
ทักษิณา เครือหงส์. (2550). คู่มือการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
แท็บเล็ต (Tablet) เพื่อการศึกษา. (2556). ค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2557, จาก http://chompoonikkampan.blogspot.com
นําชัย โบราณมูล. (2555). การพัฒนาหลักสูตรอบรมการใช้คอมพิวเตอร์นวัตกรรมการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ เรื่องการสร้างสเปรดชีทด้วย Numbers สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. (2550). ทักษะ 5C เพื่อการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. (2555). เปิดโลก Tablet สู่ทิศทางการวิจัยด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา: จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ.
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการแถลงข่าว “รายงานสรุปผลการศึกษานำร่อง โครงการนำร่อง การประยุกต์และบูรณาการคอมพิวเตอร์นวัตกรรมการศึกษาเพื่อการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา” ค้นเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2557, จาก http://itel.swu.ac.th/
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: บริษัท แอลทีเพลส จำกัด
ศูนย์บริการ ICT สพป. ยโสธร เขต 2. (2556). สรุปผลการปฏิบัติงานการดำเนินการนวัตกรรมการศึกษาเพื่อการศึกษาไทย ระยะที่ 1. ค้นเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2557, จาก http://202.143.189.100/otpc/onweb/salub.pdf
สุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ. (2545). การจัดกระบวนการเรียนรู้: เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
สุทธิพร คล้ายเมืองปัก. (2543). บทบาทของครูกับรูปแบบการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไป. วารสารวิชาการ, 3(2), 26-29. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1. (2556). ความสำเร็จของการใช้ Tablet เพื่อยกระดับการเรียนการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี 2555. ค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2557, จาก http://otpc-cm1.blogspot.com/2013/07/tablet-1-2555.html
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543) การวิจัยและพัฒนาระบบประเมินผลภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
Apple Store. (2013). iPad with Retina and iPad mini. Retrieved 7 November 2014, from http://www.apple.com/th/ipad/
Asus Store. (2556). นวัตกรรมการศึกษาและโทรศัพท์เคลื่อนที่เอซุส. Retrieved 7 November 2014,
from http://www.asus.com/th/
Bienkowski M. A. & Colleagues. (2005). Singapore Tablet PC Program Study: Executive Summary. Retrieved 28 May 2015, from http://www.ctl.sri.com/publications/downloads/TabletPC.pdf
Davis, K. & Newstrom, J. W. (1989). Human Behavior at Work: Organization Behavior. (8th ed.) New York: McGraw – Hill.
Krutus. (2000). e-Learning. Retrieved 03 May 2015, from http://www.nectec.or.th/courseware/cai/0018.html
Microsoft Store. (2013). Microsoft Surface for Windows RT. Retrieved 7 November 2014, from http://www.microsoftstore.com/store/msapac/th_TH/pdp/productID.283878300
Samsung Stroe. (2556). Galaxy Tab3 10.1. Retrieved 7 November 2014, from http:// www.samsung.com/th/
Schroer, W. J. (n. d.). Generations X, Y, Z and the Others. Retrieved 1 November 2013, from http://www.socialmarketing.org/newsletter/features/generation3.htm
Sharif, M. N. A., Lim, C. H. (2005). Facilitating Knowledge Sharing Through Lessons Learned System. Journal of Knowledge Management Practice, 6.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว