ความร่วมมือระหว่างครอบครัวกับโรงเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็กระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำสำคัญ:
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, การจัดการศึกษาโดยครอบครัว, การศึกษาขั้นพื้นฐานบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความร่วมมือระหว่างผู้ปกครองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็ก รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ประชากรที่ใช้คือ ผู้ปกครองที่จัดการศึกษาโดยครอบครัว จำนวน 113 ครอบครัวที่จดทะเบียนไว้กับเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ ผู้ปกครองและผู้บริหารโรงเรียนจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ด้วยการวิเคราะห์ทางสถิติพรรณนาโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป การวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์ การวิเคราะห์ถดถอยพหุเชิงชั้น ส่วนการวิเคราะห์เชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ความร่วมมือจากโรงเรียนด้านห้องปฏิบัติการ ครูผู้ชำนาญการและการประเมินผลขึ้นอยู่กับความต้องการความช่วยเหลือด้านวิชาการ แหล่งเรียนรู้ชุมชนด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ความพร้อมผู้ปกครองด้านเวลาจะส่งผลต่อพฤติกรรมการสอนของผู้ปกครองก่อนจึงจะส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็กในเรื่องวิชาการ การปรับตัวทางสังคมและด้านคุณธรรมที่ดี
References
จันทน์กฤษณา ผลวิวัฒน์. (2547). การวิเคราะห์แนวคิดและรูปแบบการจัดการศึกษาโดยครอบครัวในประเทศไทย. ปริญญานิพนธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อมรวิชช์ นาครทรรพ์. (2543). รายงานการวิจัยการจัดการศึกษาโดยครอบครัว Home School: ประสบการณ์ของนานาประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
Butler, S. (2000). The “H” word: home schooling. Gifted Child Today. 23 (5): 44 – 50.
Campbell, C. B. (2002). Shelby county public libraries and homeschooling parents. Alabama Librarian, 52(1):11-12.
Carper, J. C. (2000). Pluralism to establishment to dissent: The religious and educa tional context of home schooling. Peabody Journal of Education. 75 (1/2): 8-19.
Ensign, J. (2000). Defying the stereotypes of special education: Home school (FN1). Peabody Journal of Education. 75 (1/2):147-158.
Huber, E. (2004). Home school researcher. Retrieved December 12, 2005, from http://www.nheri.org/pdfs/161
Jean, G.(2000).Status of admission policies and practices at four-yearpublic institutions of higher education in Virginia implemented to evaluate home school applicants.Retrieved March 6,2007, from http://wwwlib.umi.com/dissertations/fullcit/9911812.
Kaplan, P. (2001). Reaching out to homeschooling families: Services and programs. Illinois Libraries. 83 (1): 44-46.
Lines, P. M. (2000). Home schooling comes of age. The Public Interest. 14 (1): 74.
Loretta, B. (2005). Homeschool families, public schools and the superintendent: An analysis of interactions in New Jersey and Pennsylvania. Dissertation Abstracts International. (66/03): 833.
Miles, C. (2004). Empowering Families : Starting the Homeschool Journey. Retrieved December 17, 2006, from http://www.hsc.org/chaos/Empowering Families.pdf.
Patrick, C. (1995). The home school movement in the United States: Georgia as a test case. 1979-1984.Retrieved December 12,2005, from http://www.lib.umi.com/dissertations/fullcit/9536372.
Ray, B. D. (2000). Home schooling for individuals’ gain and society’s common good. Peabody Journal of Education. 75 (1/2): 272-293.
Ray, B. D. (2004). Homeschoolers on to college: What research shows us. Journal of College Admission. 185 (1): 5-11.
Rivero, L.(2002).Progressive digressions: Home schooling for self-actualization. Roeper Review. 24 (4): 197-202.
Rutkowski, K. (1998). Homeschool pioneers on the web. Multimedia School, 5(3), 76-80.
Shane, K. (2003). Collaboration between public school educators and home school families in Colorado. A case study of an alternative online program. 64.(3): 867.
Ward, L. (2004). A preliminary investigation of the effectiveness of home school instructional environments for student with. The School Psychology Review, 33(1), 140-158.
Wichers, M.(2001).Homeschooling: Adventitious or detrimental for proficiency in higher education. Education (Chula Vista, Calif.). 122 (1): 145-150.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว